Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78001
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสินีนาฏ ชาวตระการ-
dc.contributor.advisorอักษรา ทองประชุม-
dc.contributor.authorวัชราภรณ์ พิสปิงคำen_US
dc.date.accessioned2023-06-12T00:42:31Z-
dc.date.available2023-06-12T00:42:31Z-
dc.date.issued2023-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78001-
dc.description.abstractThis is a cross-sectional study. The goal is to investigate the factors associated with mental health status and stress among medical personnel responsible for the coronavirus disease 2019 in Lampang province. The sample group consisted of executives and medical personnel who were in charge of work related to Coronavirus Disease 2019 under the Incident Command System (ICS) structure and Emergency Operation Center (EOC) operations. The convenience sampling method was used to select 384 people for the sample group. Data were collected using self-administered questionnaires between June 6 to July 6, 2022. The descriptive statistics used for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, and the Chi-square test. The results showed that most of the medical personnel (57.6%) responsible for work on Coronavirus disease 2019 in Lampang province did not have mental health problems. Moreover, most of the samples (77.9%) were stressed at a normal level. The personal factors related significantly to the mental health status of personal factors of medical personnel responsible for Coronavirus Disease 2019 in Lampang Province were age, marital status, working age, workplace, adequacy of income, chronic diseases, and housing area (p < 0.05). Factors related to the performance characteristics of medical personnel responsible for work related to the Coronavirus Disease 2019 in Lampang Province, were average working hours per day and role at work. These factors were significantly related to the mental health status of medical personnel in the situation of the coronavirus disease 2019 outbreak (p < 0.001). Moreover, the personal factors related to the work stress of medical personnel responsible for Coronavirus Disease 2019 in Lampang Province, were namely age, marital status, working age, current job position, workplace, monthly income, adequacy of income, and housing characteristics (p < 0.05). Factors associated with the performance characteristics of medical personnel responsible for work related to the Coronavirus 2019 in Lampang Province were average working hours per day and major roles which were significantly correlated to stress (p < 0.05). Regarding this study, the responsible authorities were recommended to have a surveillance system of mental health problems and stress for personnel, especially in the group where a higher number of health problems and stress were found. In addition, a plan for personnel rotation should be conducted to improve the efficiency of operations following the Incident Command System (ICS) structure. Lastly, the health and mental health promotion policies such as career advancement and motivation to work should be promoted. Keywords: Stress, Mental Health, Medical personnel, Emergency Operations Center, Incident Command Systemen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพจิตและความเครียดของบุคลากรทางการแพทย์ที่รับผิดชอบงานเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่จังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeFactors associated with mental health and stress among healthcare personnel responsible for COVID-19 in Lampang Provinceen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashโควิด-19 (โรค)-
thailis.controlvocab.thashการระบาดใหญ่ของโควิด-19, ค.ศ. 2020--
thailis.controlvocab.thashบุคลากรทางการแพทย์ -- ความเครียดในการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashความเครียดในการทำงาน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional study) ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพจิตและความเครียดของบุคลากรทางการแพทย์ที่รับผิดชอบงานเกี่ยวกับโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่จังหวัดลำปาง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหาร บุคลากรทางการแพทย์ที่รับผิดชอบงานเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายใต้การทำงานตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ด้านการแพทย์และสาธารณสุข (Incident Command System: ICS) เมื่อมีการเปิดศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข (Emergency Operations Center: EOC) จำนวน 384 คน ได้จากการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีสุ่มตามสะดวก (Convenience Sampling) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามให้กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ตอบแบบสอบถามเอง โดยแบบสอบถามมีทั้งหมด 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยด้านลักษณะการปฏิบัติงานตาม ICS จำนวน 18 ข้อคำถาม ส่วนที่ 2 แบบสอบถามภาวะสุขภาพจิต (Thai GHQ30) ของเดวิดโกลด์เบอร์ก (David Goldberg) จำนวน 30 ข้อ และส่วนที่ 3 ความเครียดของบุคลากรทางการแพทย์ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวน 20 ข้อ ระหว่างวันที่ 6 มิถุนายน ถึง 6 กรกฎาคม พ.ศ.2565 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า บุคลากรทางการแพทย์ที่รับผิดชอบงานเกี่ยวกับโรคเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่จังหวัดลำปางส่วนใหญ่ร้อยละ 57.6 ไม่มีปัญหาสุขภาพจิต และส่วนใหญ่ ร้อยละ 77.9 มีความเครียดอยู่ในระดับปกติ สำหรับปัจจัยส่วนบุคคลของบุคลากรทางการแพทย์ที่รับผิดชอบงานเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่จังหวัดลำปางที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ อายุ สถานภาพสมรส อายุการทำงาน สถานที่ปฏิบัติงานความเพียงพอของรายได้ โรคประจำตัว และลักษณะที่อยู่อาศัย (p-value < 0.05) ปัจจัยด้านลักษณะการปฏิบัติงานตาม ICS ของบุคลากรทางการแพทย์ที่รับผิดชอบงานเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่จังหวัดลำปาง ได้แก่ ชั่วโมงการทำงานโดยเฉลี่ยต่อวัน และบทบาทหน้าที่หลัก มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพจิตของบุคลากรทางการแพทย์ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.001) สำหรับปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดของจากการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ที่รับผิดชอบงานเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ในพื้นที่จังหวัดลำปาง ได้แก่ อายุ สถานภาพสมรส อายุการทำงาน ตำแหน่งงานปัจจุบัน สถานที่ปฏิบัติงาน รายได้ต่อเดือน ความเพียงพอของรายได้และลักษณะที่อยู่อาศัย (p-value < 0.05) ปัจจัยด้านลักษณะการปฏิบัติงานตาม ICS ของบุคลากรทางการแพทย์ที่รับผิดชอบงานเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่จังหวัดลำปาง พบว่าชั่วโมงการทำงานโดยเฉลี่ยต่อวัน และบทบาทหน้าที่หลักมีความสัมพันธ์กับความเครียดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.001) จากการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะให้ผู้มีอำนาจรับผิดชอบมีการเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพจิตและความเครียดของบุคลากรโดยเฉพาะในกลุ่มที่พบปัญหาความชุดของการมีปัญหาสุขภาพและความเครียดที่ค่อนข้างสูงกว่ากลุ่มอื่น ๆ รวมทั้งจัดทำแผนประคับประคองกิจการไว้ เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนบุคลากร เพิ่มประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานตามผัง ICS และนโยบายส่งเสริมสุขภาพจิต เช่น ความก้าวหน้าในวิชาชีพ แรงจูงใจในการทำงานต่อไป คำสำคัญ : ความเครียด, ภาวะสุขภาพจิต , บุคลกากรทางการแพทย์, ศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข, ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ด้านการแพทย์และสาธารณสุขen_US
thesis.concealForeveren_US
Appears in Collections:RIHES: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
612232011 - วัชราภรณ์ พิสปิงคำ .pdf2.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.