Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77960
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSakda Swathanan-
dc.contributor.advisorUraiwan Hanwong-
dc.contributor.advisorNampueng Intanate-
dc.contributor.authorWanlee Karinchaien_US
dc.date.accessioned2023-06-07T10:16:13Z-
dc.date.available2023-06-07T10:16:13Z-
dc.date.issued2023-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77960-
dc.description.abstractThe purposes of this research and development were 1) to synthesize teachers' competency in learning management that promotes mathematical literacy in elementary school 2) to construct and explore the quality of the model of teacher competency development in learning management to promote mathematical literacy in elementary school level 3) to study results from the implementation of the model of teacher competency development in learning management to promote mathematical literacy in elementary school level. The research methodology consisted of 3 stages: Stage 1: Synthesis of the teacher competency in learning management to promote mathematical literacy in elementary school. The target group employed in synthesizing the components and indicators of teachers' competencies were 5 qualified experts. The tool employed for data collection was the assessment form of congruency and suitability of components and indicators. The data were analyzed by using mean and standard deviation. Stage 2: Construction and quality exploration of the model of teacher competency development in learning management to promote mathematical literacy in elementary school level. The target group employed in the study to construct the draft model consisted of 10 qualified experts and 30 educational institution administrators and mathematics teachers. The target group employed for the model’s quality assessment consisted of 5 qualified experts and the target group for the tryout of the draft model consisted of 3 mathematics teachers teaching for upper primary level (year 4-6). The tools employed for data collection were; 1) survey questionnaire of opinions on development methods as well as measurement and assessment methods 2) assessment form of the model’s quality 3) Assessment form of teacher competency in learning management to promote mathematical literacy and 4) survey questionnaire of teachers’ opinions on the model implementation. The data were analyzed by employing item-objective congruence (IOC) index value, mathematics mean and standard deviation. Stage 3: Study of results from the implementation of the model of teacher competency development in learning management to promote mathematical literacy in elementary school level. Tools for data collection were 1) assessment form of teacher competency in learning management to promote mathematical literacy in elementary school level and 2) survey questionnaire of teachers’ opinions on the model implementation. Data were analyzed by employing mathematics mean and standard deviation. Research results 1. According to the synthesis of teacher development in learning management to promote mathematical literacy in elementary school level, there were 5 components and 22 indicators including 1) knowledge in mathematical literacy contents being comprised of 2 indicators 2) knowledge in mathematical literacy teaching being comprised of 3 indicators 3) ability to design learning management to promote mathematical literacy being comprised of 7 indicators 4) ability to organize learning management to promote mathematical literacy being comprised of 7 indicators and 5) characteristics in teaching development being comprised of 3 indicators. The results from the assessment of the suitability of all components and indicators were found being at the high and the highest level. 2. The model of teacher competency development in learning management to promote mathematical literacy in elementary school level consisted of 5 components including 1) Principles and rationales 2) Purposes of the model 3) Contents of the development 4) Competency development processes being comprised of 4 steps which were 1) preparation 2) fulfilling knowledge 3) moving towards collaborative practices, and 4) assessment of the development results and 5) roles of relevant persons. The result of the model’s quality assessment was found being at the high level. 3. The results from the model implementation indicated that after the model implementation, the level of teacher competency in learning management to promote mathematical literacy was higher. For the component concerning knowledge in mathematical literacy teaching and the component concerning knowledge in mathematical literacy contents, competencies were found developed from being at the low level to the high level. In terms of ability to design learning management to promote mathematical literacy and ability to organize learning management to promote mathematical literacy, as well as characteristics in teaching development, the competencies were developed from being at the moderate level to the high level. Moreover, the overall opinion of teachers on the model implementation was at the highest level.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectDevelopmenten_US
dc.subjectTeacheren_US
dc.subjectMathematical Literacyen_US
dc.subjectManagementen_US
dc.subjectDevelopmenten_US
dc.subjectCompetencyen_US
dc.titleModel of teacher competency development in learning management to promote mathematical literacy in elementary school levelen_US
dc.title.alternativeรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษาen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshMathematics -- Study and teaching (Elementary)-
thailis.controlvocab.lcshTeachers -- Performance-
thailis.controlvocab.lcshTeachers -- Rating of-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สังเคราะห์สมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา 2) สร้างและหาคุณภาพรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา และ3) ศึกษาผลการใช้รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา วิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วยการดำเนินการ 3 ระยะคือ ระยะที่ 1 การสังเคราะห์สมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา เพื่อประเมินองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ กลุ่มที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 ท่าน เครื่องมือ ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินความสอดคล้องและความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวบ่งชี้ฯ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะที่ 2 การสร้างและหาคุณภาพของรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา กลุ่มที่ใช้ในการศึกษาเพื่อสร้างรูปแบบขั้นต้น ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 10 ท่าน ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนคณิตศาสตร์ จำนวน 30 ท่าน กลุ่มที่ใช้ในการศึกษาเพื่อประเมินคุณภาพรูปแบบ คือผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 ท่าน และกลุ่มเป้าหมายในการทดลองใช้รูปแบบขั้นต้น คือ ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 3 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการพัฒนาและวิธีวัดและประเมินผล 2) แบบประเมินคุณภาพของรูปแบบฯ 3) แบบประเมินสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของครูที่มีต่อการใช้รูปแบบฯ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ การวิเคราะห์ความสอดคล้องและความเหมาะสม (IOC) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะที่ 3 การศึกษาผลการใช้รูปแบบฯ กลุ่มเป้าหมาย คือ ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 13 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) แบบประเมินสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความ ฉลาดรู้คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา และ2) แบบสอบถามความคิดเห็นของครูต่อการใช้รูปแบบฯ วิเคราะห์ข้อมูลโดย ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. การสังเคราะห์สมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา มี 5 องค์ประกอบ 22 ตัวบ่งชี้ ประกอบด้วย 1) ความรู้ในเนื้อหาความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ จำนวน 2 ตัวบ่งชี้ 2) ความรู้ในการสอนความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ จำนวน 3 ตัวบ่งชี้ 3) ความสามารถในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ จำนวน 7 ตัวบ่งชี้ 4) ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ จำนวน 7 ตัวบ่งชี้ และ 5) คุณลักษณะในการพัฒนาการสอน จำนวน 3 ตัวบ่งชี้ ผลการประเมินความเหมาะสมของทุกองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ พบว่าอยู่ในระดับมากและมากที่สุด 2. รูปแบบพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ 1) หลักการและเหตุผล 2) วัตถุประสงค์ 3) สาระในการพัฒนา 4) กระบวนการพัฒนาสมรรถนะ ซึ่งมี 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 เตรียมการ ขั้นที่ 2 เติมเต็มองค์ความรู้ ขั้นที่ 3 มุ่งสู่การปฏิบัติแบบมีส่วนร่วม และขั้นที่ 4 ประเมินผลการพัฒนา และ 5) บทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้อง ผลการประเมินคุณภาพของรูปแบบฯ พบว่าอยู่ในระดับมาก 3. ผลการใช้รูปแบบฯ พบว่า สมรรถนะของครูด้านการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ หลังการใช้รูปแบบมีระดับสมรรถนะที่สูงขึ้น โดยด้านความรู้ในการสอนความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ และด้านความรู้ในเนื้อหาความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ มีการพัฒนาสมรรถนะจากเดิมที่อยู่ในระดับต่ำไปสู่ระดับสูง ด้านความสามารถในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ ด้านความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ และด้านคุณลักษณะในการพัฒนาการสอน มีการพัฒนาสมรรถนะจากเดิมที่อยู่ในระดับปานกลางไปสู่ระดับสูง และความคิดเห็นของครูที่มีต่อการใช้รูปแบบฯ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610252005 Wanlee Karinchai.pdf6.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.