Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77957
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorBoonrod Chotivachira-
dc.contributor.advisorSira Somnam-
dc.contributor.advisorJarunee Dibyamandala-
dc.contributor.authorPongsakorn Sommiten_US
dc.date.accessioned2023-06-07T09:54:55Z-
dc.date.available2023-06-07T09:54:55Z-
dc.date.issued2023-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77957-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study the problems and needs to develop PADTHAI Model to promote Thai speaking. of ethnic students, Faculty of Education, Chiang Rai Rajabhat University. 2) to create and develop PADTHAI Model to promote Thai speaking of ethnic group students, Faculty of Education, Chiang Rai Rajabhat University 3) to study the effect of using PADTHAI Model to promote Thai speaking. of ethnic minority students, Faculty of Education, Chiang Rai Rajabhat University as follows; and 4) to assess the development process of PADTHAI Model to promote Thai speaking. of ethnic group students, Faculty of Education, Chiang Rai Rajabhat University. the target group was 25 students of ethnic groups Faculty of Education first year of the academic year 2021 who had different pronunciation problems in Thai language. People by specific selection consisted of students from Akha, Lahu, Lisu, Hmong and Pga K'nyau ethnic groups 5 each. Used in the study of Thai speaking problems of ethnic groups 2) Thai speaking test 3) Thai speaking recording form 4) Innovation Quality Assessment Form 5) A test of the ability to speak Thai before and after using the innovation 6) Innovations to promote Thai speaking among ethnic students 7) A questionnaire for assessing the satisfaction of ethnic students with the use of the innovation. The results showed that 1) 9 theories were used to study the sound system of ethnic groups is second language phonology theory, Conflict Analysis Hypothesis, spoken language learning theory, Second language cognition theory, Second language linguistic perception theory, Strange Theory, linguistic theory, second language teaching theory, language learning theory and found a problem speaking Thai consonant pronunciation Vowel pronunciation pronunciation of final consonants tonal pronunciation and the pronunciation of diphthongs Each ethnic group has different problems. 2) The problem of speaking Thai of the ethnic students is consistent with the problem of speaking Thai language of the ethnic groups that have been studied in the previous research and thesis. which affects the speech of the first consonant, the vowel, and the end consonant tone and diphthongs 3) The innovation to promote Thai speaking is called PADTHAI, which consists of 7 stages of development consisting of 1. Identifying speaking problems 2. Practice listening to the correct speech and identifying sounds that are not similar to the prototype 3. Practice in pronunciation 4.practice of speaking Thai words using sound pairs; 5. listening and speaking practice following the original sound 6.Practice speaking Thai from the picture given. 7. Thai speaking test to compare with step 1 with efficiency equal to 82.32/88.00 4) Ethnic students have a higher ability to speak Thai and are satisfied with the use of innovation Overall, all aspects were at the highest level.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDevelopment of PADTHAI model for promoting speaking skill of ethnic undergraduate students, Faculty of Education, Chiang Rai Rajabhat Universityen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาผัดไทยโมเดล เพื่อส่งเสริมการพูดภาษาไทยของนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshThai language -- Speech-
thailis.controlvocab.lcshEthnic groups -- Chiang Rai-
thailis.controlvocab.lcshCollege students -- Chiang Rai-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการพัฒนา PADTHAI Model เพื่อส่งเสริมการพูดภาษาไทย ของนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 2) เพื่อสร้างและพัฒนา PADTHAI Model เพื่อส่งเสริมการพูดภาษาไทย ของนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 3) เพื่อศึกษาผลการใช้ PADTHAI Model เพื่อส่งเสริมการพูดภาษาไทย ของนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ดังนี้และ 4) เพื่อประเมินกระบวนการพัฒนา PADTHAI Model เพื่อส่งเสริมการพูดภาษาไทย ของนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ที่มีปัญหาการออกเสียงภาษาไทยแตกต่างกัน จำนวน 25 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย นักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์อ่าข่า ลาหู่ ลีซอ ม้ง และปกาเกอะญอ กลุ่มชาติพันธุ์ละ 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบบันทึกปัญหาการพูดภาษาไทยและทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาปัญหาการพูดภาษาไทยของกลุ่มชาติพันธุ์ 2) แบบทดสอบการพูดภาษาไทย 3) แบบบันทึกการพูดภาษาไทย 4) แบบประเมินคุณภาพนวัตกรรมฯ 5) แบบทดสอบความสามารถในการพูดภาษาไทยก่อนและหลังใช้นวัตกรรมฯ 6) นวัตกรรมเพื่อส่งเสริมการพูดภาษาไทยของนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ 7) แบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ต่อการใช้นวัตกรรมฯ ผลการวิจัยพบว่า 1) มีการใช้ทฤษฎีเพื่อศึกษาระบบเสียงของกลุ่มชาติพันธุ์ จำนวน 9 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีสัทวิทยาภาษาที่สอง ทฤษฎีสมมติฐานการวิเคราะห์ความขัดแย้ง ทฤษฎีการเรียนรู้ภาษาพูด ทฤษฎีการกลืนเสียงเชิงการรับรู้ภาษาที่สอง ทฤษฎีการรับรู้เชิงภาษาศาสตร์ภาษาที่สอง ทฤษฎีความแปลกเด่น ทฤษฎีภาษาศาสตร์ ทฤษฎีการเรียนการสอนภาษาที่สอง ทฤษฎีการเรียนรู้ภาษา และพบปัญหาการพูดภาษาไทยคือ การออกเสียงพยัญชนะ การออกเสียงสระ การออกเสียงพยัญชนะท้าย การออกเสียงวรรณยุกต์ และการออกเสียงพยัญชนะควบกล้ำ โดยแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์จะมีปัญหาที่แตกต่างกัน 2) ปัญหาการพูดภาษาไทยของนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ มีความสอดคล้องกับปัญหาการพูดภาษาไทยของกลุ่มชาติพันธุ์ซึ่งมีผู้ได้ศึกษาในงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ก่อนหน้า ซึ่งส่งผลต่อการพูดเสียงพยัญชนะต้น เสียงสระ เสียงพยัญชนะท้าย เสียงวรรณยุกต์ และเสียงพยัญชนะควบกล้ำ 3) นวัตกรรมเพื่อส่งเสริมการพูดภาษาไทยมีชื่อว่า PADTHAI ซึ่งประกอบด้วยการพัฒนา 7 ขั้น ประกอบด้วย 1. การระบุปัญหาการพูด 2. การฝึกฟังเสียงพูดที่ถูกต้องและจำแนกเสียงที่ไม่เหมือนกับต้นแบบ 3. การฝึกออกเสียง 4. การฝึกพูดคำในภาษาไทยโดยใช้คู่เทียบเสียง 5. การฟังและฝึกพูดตามจากเสียงต้นแบบ 6. การฝึกพูดภาษาไทยจากรูปภาพที่กำหนดให้ 7. การทดสอบการพูดภาษาไทยเพื่อเปรียบเทียบกับขั้นตอนที่ 1 โดยมีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.32/88.00 4)นักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์มีความสามารถในการพูดภาษาไทยสูงขึ้น และมีความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมฯ โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630252010 พงศกร สมมิตร.pdf2.27 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.