Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77954
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรภัทร วรรณฤมล-
dc.contributor.authorธนภรณ์ เมธาวรนันท์ชัยen_US
dc.date.accessioned2023-06-07T01:31:50Z-
dc.date.available2023-06-07T01:31:50Z-
dc.date.issued2023-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77954-
dc.description.abstractThe objectives of this research are (1) to study the marketing communication strategies of online food ordering businesses of Grab food and foodpanda (2) to study patterns and experiences of using Grab Food and foodpanda applications. This research is a qualitative research using focus group interviews from users of Grab food and foodpanda applications to syudy information and experiences about both applications. Two brands The results showed that Regarding the marketing communication strategies of Grab food and foodpanda, the strategies of both brands are similar in many aspects. Both in advertising Press releases and public relations promotion And direct marketing, both brands will focus on offering advertising about discounts, giveaway, giveaway and restaurant advertising. The most competitive aspect is sales promotion. In addition, such a strategy that Grab food differentiates from other brands is the creation of Grab Thumbs Up Awards for partner merchants. And in foodpanda’s strategy, promotional activities have been organized in the form of a Tuesday Food panda campaign. In terms of User Interface (UI) and User Experience (UX) , it was found that the design process responsive design process And the external appearance design of both brands is similar in terms of design process, responsive design process, external appearance design in terms of the use of colors, text, system usage. And presenting information through the application of their own brand In addition, the two brands are different in terms of images, which is that foodpanda uses a way of presenting food images used for brand advertising. Bring it to a shop that doesn’t upload pictures of food onto the application. As a result, users are unable to see food images of the restaurant’s menu at all, causing users to hesitate to order food on the foodpanda app. Which is actually true from their own stores and in terms of User Experience (UX), it was found that in terms of variety, efficiency and quality improvement, there are differences with the Grab food application also providing other services in addition. From food delivery services such as Grab Taxi. As for quality improvements, because Grab food has a wider scope of service, new restaurants are always being added. This makes it possible to have a wide variety of options available to users all the time.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดของธุรกิจสั่งอาหารออนไลน์en_US
dc.title.alternativeMarketing communication strategies of online food ordering businessen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashบริการอาหาร-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค-
thailis.controlvocab.thashโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่-
thailis.controlvocab.thashการส่งเสริมการขาย-
thailis.controlvocab.thashการตลาด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษากลยุทธ์การสื่อสารการตลาดของธุรกิจสั่งอาหารออนไลน์ของ Grab Food และ foodpanda (2) เพื่อศึกษารูปแบบและประสบการณ์การใช้งานแอปพลิเคชัน Grab Food และ foodpanda การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้การสัมภาษณ์แบบกลุ่ม (Focus group) จากผู้ใช้งานแอปพลิเคชัน Grab Food และ foodpanda เพื่อศึกษาข้อมูลและประสบการณ์เกี่ยวกับการใช้งานแอปพลิเคชันทั้งสองแบรนด์ ผลการวิจัยพบว่า ด้านกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดของ Grab food และ foodpanda กลยุทธ์ทั้ง 2 แบรนด์มีความคล้ายคลึงกันในหลายด้าน ทั้งในด้านการโฆษณา การให้ข่าวและการประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมการขาย และการตลาดทางตรง ซึ่งทั้ง 2 แบรนด์จะมุ่งเน้นไปที่การนำเสนอการโฆษณาเกี่ยวกับการลด แลด แจก แถมสินค้า และการโฆษณาร้านอาหาร โดยด้านที่เน้นการแข่งขันกันมากที่สุด ได้แก่ ด้านการส่งเสริมการขาย นอกจากนี้กลยุทธ์ดังกล่าวที่ Grab food สร้างความแตกต่างจากแบรนด์อื่น ๆ คือ การสร้างรางวัล Grab Thumbs Up Awards ให้แก่ร้านค้าที่เป็นพันธมิตร และในส่วนกลยุทธ์ของ foodpanda ได้มีการจัดกิจกรรมการส่งเสริมการขายในรูปแบบการจัดแคมเปญวันอังคารฟู้ดแพนด้า ในส่วนของ User Interface (UI) และ User Experience (UX) พบว่า กระบวนการออกแบบ กระบวนการออกแบบตอบสนอง และการออกแบบรูปลักษณะภายนอกของทั้ง 2 แบรนด์ มีความคล้ายคลึงกันทั้งในด้านกระบวนการออกแบบ, กระบวนการออกแบบตอบสนอง, การออกแบบรูปลักษณะภายนอกในเรื่องของการใช้สี ตัวหนังสือ ระบบการใช้งาน และการนำเสนอข้อมูลผ่านแอปพลิเคชันของแบรนด์ตนเอง นอกจากนี้ทั้ง 2 แบรนด์ยังมีความแตกต่างกันในเรื่องของรูปภาพ คือ ทาง foodpanda ใช้วิธีการนำเสนอรูปภาพอาหารที่ใช้เพื่อการโฆษณาของแบรนด์ นำมาใส่กับร้านค้าที่ไม่ได้อัพโหลดรูปภาพของอาหารลงบนแอปพลิเคชัน จึงทำให้ผู้ใช้บริการไม่สามารถเห็นภาพอาหารที่เป็นเมนูอาหารของทางร้านค้าได้เลยทำให้ผู้ใช้บริการเกิดความลังเลที่จะสั่งอาหารในแอปพลิเคชัน foodpanda ในส่วนของ Grab food ใช้วิธีการนำเสนอรูปภาพอาหารที่เป็นไปตามจริงจากร้านค้าของตนเอง และในส่วนของ User Experience (UX) พบว่า ในด้านความหลากหลายประสิทธิภาพและการปรับปรุงคุณภาพมีความแตกต่างกันโดยแอปพลิเคชัน Grab food ยังให้บริการด้านอื่น ๆ นอกเหนือจากบริการการส่งอาหาร เช่น Grab Taxi ส่วนเรื่องของการปรับปรุงคุณภาพเนื่องจาก Grab food มีขอบเขตการให้บริการที่กว้างกว่าจึงทำให้มีการเพิ่มเติมร้านอาหารใหม่ ๆ อยู่เสมอ ทำให้มีตัวเลือกที่หลากหลายให้แก่ผู้ใช้งานอยู่ตลอดเวลาen_US
Appears in Collections:MASSCOMM: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611832012 ธนภรณ์ เมธาวรนันท์ชัย.pdf3.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.