Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77902
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภณัฐ ชัยดี-
dc.contributor.authorวุฒิชัย ไชยปัญญาen_US
dc.date.accessioned2022-12-06T10:47:13Z-
dc.date.available2022-12-06T10:47:13Z-
dc.date.issued2022-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77902-
dc.description.abstractThe purposes of this research are to compare classical and analytical geometry concepts, develop the mastery learning self-study package on geometry for upper secondary students by comparing classical and analytical geometry concepts and compare the students learning achievement before and after using the self-study package. A sample group for this research is 30 students in the mathematics club in upper secondary level from Namuen Pittayakom school in the second semester of academic year 2021 and the first semester of academic year 2022, selected by purposive sampling. The tools for this research consist of 4 self-study packages, the pre-test and post-test examinations. We found that the difference between classical and analytical geometry is the geometry structure. The concept of classical geometry includes of point, line, plane, betweenness of points and congruence, wherever analytical geometry includes concept of coordinate, distance function and angular measuring function additionally. With this difference, we develop the self-study package to decrease the gap between concepts. We did the experiments with the sample group and found that the self-study package has an efficient value at 80.24/79.66. Moreover, an achievement after learning is higher than before learning at .05 level of significance.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการพัฒนาชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองen_US
dc.subjectมโนทัศน์เรขาคณิตแบบฉบับen_US
dc.subjectมโนทัศน์เรขาคณิตวิเคราะห์en_US
dc.titleการพัฒนาชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองเรื่องเรขาคณิตสำหรับผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยเปรียบเทียบมโนทัศน์เรขาคณิตแบบฉบับและเรขาคณิตวิเคราะห์en_US
dc.title.alternativeDevelopment of the mastery learning self-study package on geometry for upper secondary students by comparing classical and analytical geometry conceptsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเรขาคณิต -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashความคิดรวบยอด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบมโนทัศน์เรขาคณิตแบบฉบับและเรขาคณิตวิเคราะห์ พัฒนาชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองเรื่องเรขาคณิตสำหรับผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยเปรียบเทียบมโนทัศน์เรขาคณิตแบบฉบับและเรขาคณิตวิเคราะห์ และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชุมนุมคณิตศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนาหมื่นพิทยาคม ในภาคเรียนที่ $2$ ปีการศึกษา $2564$ และ ภาคเรียนที่ $1$ ปีการศึกษา $2565$ จากการเลือกอย่างเจาะจงจำนวน $30$ คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองเรื่องเรขาคณิต จำนวน 4 ชุด และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเรขาคณิต ผลการศึกษาพบว่า มโนทัศน์เรขาคณิตแบบฉบับและเรขาคณิตวิเคราะห์แตกต่างกันคือโครงสร้างระบบ เรขาคณิตแบบฉบับโครงสร้างระบบประกอบไปด้วย จุด เส้น ระนาบ ระหว่าง และการเท่ากันทุกประการ ในขณะที่เรขาคณิตวิเคราะห์มีการเพิ่มเติมแนวคิดของการกำหนดพิกัด ระยะทาง และการวัดมุม จากแนวคิดที่แตกต่างกันนี้จึงทำการพัฒนาชุดการเรียนรู้ที่ลดช่องว่างของเรขาคณิตทั้งสองระบบ โดยพบว่าประสิทธิภาพของชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองเรื่องเรขาคณิตที่พัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.24/79.66 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเรื่องเรขาคณิต ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองเรื่องเรขาคณิต สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620532008 wuttichai chaipunya.pdf3.27 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.