Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77892
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Kreetha Kaewkhong | - |
dc.contributor.advisor | Suthida Chamrat | - |
dc.contributor.advisor | Ladapha Ladachart | - |
dc.contributor.author | Jannapha Soonjan | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-11-22T10:37:22Z | - |
dc.date.available | 2022-11-22T10:37:22Z | - |
dc.date.issued | 2021-02 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77892 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research is to develop a teacher professional development program using Inquiry-based, develop the knowledge of science pedagogy of elementary science teachers with a teacher professional development program using Inquiry-based. and to develop the teaching quality of elementary science teachers through a teacher professional development program using Inquiry-based. The sample consisted of 20 elementary science teachers who participated in the training and development, after the development training, 12 people can follow up. The researcher collected the data with a quiz to assess their understanding of the five essential features of inquiry. Using the five essential features of inquiry of the National Research Council's and the level of inquiry of Zion & Mendelovicil. Conducted a Lakin & Wallace tracing teaching activity survey, including class observations, and assessing the learning management plan with a teaching quality assessment developed from Science Teacher Inquiry Rubric (STIR). That the researcher translated into Thai. It consists of 5 main topics, 6 sub topics, and subtopic behavior. Based on the concept of Karen Beer and Alec Bodzin, and an assessment of the teaching level of knowledge based on the quality criteria of Deborah and Leyton translated into Thai by the researcher, and adjusted to suit the assessment. The statistics used for data analysis consisted of percentage, mean, standard deviation. and t-test. The results of the research were found that the teacher professional development program using inquiry based consisted of 4 parts: part 1, pre-development assessment, part 2, knowledge development. It consists of 4 activities: (1) knowledge examination activity (2) Inquiry-based teaching activity (3) Inquiry-based teaching activity development (4) Inquiry-Based Professional Development Friend Club, Part 3. Integration with Practice and Part 4 Post-Development Assessment. As a result, the sample group had a statistically significant difference in the five essential features of inquiry, with the score of understanding pre-development and post-development understanding at the .05 level. The ability to organize inquiry based activity is higher. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Development of understanding and quality the inquiry-based teaching among in-service science teachers using a teacher professional development program | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนาความเข้าใจและคุณภาพการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ของครูประจำการโดยการใช้โปรแกรมการพัฒนาวิชาชีพครู | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Education | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Professions | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Science -- Study and teaching (Elementary) | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมการพัฒนาวิชาชีพครู โดยใช้การ สืบเสาะหาความรู้เป็นฐาน พัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับการสอนวิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ ของครูวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษาด้วยโปรแกรมการพัฒนาวิชาชีพครูโคยใช้การสืบเสาะหา ความรู้เป็นฐานและเพื่อพัฒนาคุณภาพการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ของครูวิทยาศาสตร์ระดับ ประถมศึกษาด้วยโปรแกรมการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้การสืบเสาะหาความรู้เป็นฐาน กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วยครูวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษาที่เข้าร่วมรับการอบรมพัฒนาจำนวน 20 คนหลังจาก การอบรมพัฒนาสามารถติดตามผลได้จำนวน 12 คน ผู้วิจัยทำการเก็บข้อมูลด้วยแบบทดสอบ เพื่อประเมินความเข้าใจของครูเกี่ยวกับ 5 ลักษณะสำคัญของการสืบเสาะหาความรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยใช้หลักการ 5 ลักษณะสำคัญของการสืบเสาะหาความรู้ของ National Rescarch Council และ ระดับของการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ของ Zion & Mendelovici (2012) ทำการสำรวจการจัด กิจกรรมการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ด้วยแบบสอบถามตามแนวคิดของ Lakin & Wallace รวมไป ถึงการสังเกตชั้นเรียนพร้อมกับประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยแบบประเมินคุณภาพการสอนที่ พัฒนาจาก Science Teacher Inquiry Rubric (STIR) ที่ผู้วิจัยแปลเป็นภาษาไทย ประกอบด้วยหัวช้อ หลัก 5 หัวข้อ หัวข้อย่อย 6 หัวข้อ และ พฤติกรรมตามหัวข้อย่อย ตามกรอบแนวคิดของ Karen Beer and Alec Bodzin และแบบประเมินระดับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้เกณฑ์ระดับคุณภาพ ของ Deborah and Leyton ที่ผู้วิจัยแปลเป็นภาษาไทย และปรับปรุงให้เหมาะสมกับการประเมิน สถิติ ที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า ที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า โปรแกรมการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้เป็น ฐานประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 การประเมินก่อนการพัฒนา ส่วนที่ 2 การพัฒนาความรู้ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม 1 กิจกรรมได้แก่ (1) กิจกรรมการตรวจสอบความรู้ (2) กิจกรรมการสอน แบบสืบเสาะหาความรู้ (3) กิจกรรมการพัฒนาการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (4) กิจกรรม Inquiry- Based Professional Development Friend Club ส่วนที่ 3 การบูรณาการสอดแทรกกับการปฏิบัติ และส่วนที่ 4 การประเมินหลังการพัฒนา ส่งผลให้กลุ่มตัวอย่างมีความเข้าใจเกี่ยวกับ ลักษณะสำคัญ ของการสืบเสาะหาความรู้โดยคะแนนประเมินความเข้าใจก่อนการอบรมพัฒนาและหลังการอบรม พัฒนาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีความสามารถในการจัดกิจกรรมแบบ สืบเสาะหาความรู้สูงขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590252026 จันทร์นภา ศูนย์จันทร์.pdf | 3.04 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.