Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77875
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสรัสวดี อ๋องสกุล-
dc.contributor.authorทองบริบูรณ์ หน่อทองen_US
dc.date.accessioned2022-11-19T05:56:36Z-
dc.date.available2022-11-19T05:56:36Z-
dc.date.issued2022-09-21-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77875-
dc.description.abstractThe study of cultural management of Long Sa Pao Nakorn Lampang festival aimed to study the concepts and methods of cultural management of Long Sa Pao festival since 1994 - 2020. The study reviewed that the ideas and management methods have adapted to the social context at a particular time starting from the concept of cultural resource management with the concept of community culture in the traditional cultural management of Long Sa Pao festival of the people live in basin of a Wang river. The local traditions were preserved under the good consciousness of the river. Cultural management of Nakorn Lampang Long Sa Pao festival since 1994 – 2020 used the concept of cultural resource management and the concept of identity by means of the Lampang municipality in collaboration with all sectors in Lampang province. The municipality organized activities to create the identity of Lampang. Nakorn Lampang Long Sa Pao Festival since 2010 - 2020 focused on the concept of a capitalist economy that valued money as a tool for cultural activities. In addition, identity and cultural heritage were organized as activities by municipal and government administrators all sectors in Lampang province in order to promote tourism and boost the economy of Lampang province.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectล่องสะเปาen_US
dc.subjectเขลาค์นครen_US
dc.subjectการจัดการวัฒนธรรมen_US
dc.subjectลอยกระทงen_US
dc.subjectลำปางen_US
dc.titleการจัดการทางวัฒนธรรมของงานประเพณีล่องสะเปานครลำปางen_US
dc.title.alternativeCultural management of Long Sa Pao Nakorn Lampang festivalen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashวัฒนธรรม-
thailis.controlvocab.thashล่องสะเปา-
thailis.controlvocab.thashลำปาง -- ความเป็นอยู่และประเพณี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาการจัดการทางวัฒนธรรมของงานประเพณีล่องสะเปาชาวนครลำปาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและวิธีการจัดการทางวัฒนธรรมของงานประเพณีล่องสะเปา พ.ศ. 2537 - 2563 ผลการศึกษาพบว่า มีแนวคิดและวิธีการจัดการที่ปรับเปลี่ยนไปตามบริบท เริ่มจากแนวคิดการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมกับแนวคิดวัฒนธรรมชุมชนในการจัดการประเพณีล่องสะเปาชาวนครลำปางแบบดั้งเดิมของชุมชนลุ่มน้ำวัง ซึ่งสงวนรักษาประเพณีท้องถิ่นภายใต้จิตสำนึกที่ดีต่อแม่น้ำ งานประเพณีล่องสะเปาชาวนครลำปาง พ.ศ. 2537 – 2563 ใช้แนวคิดการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมกับแนวคิดการสร้างอัตลักษณ์ด้วยวิธีการที่เทศบาลนครลำปางร่วมกับหน่วยงาน ทุกภาคส่วนในจังหวัดลำปางจัดกิจกรรมที่สร้างอัตลักษณ์แสดงความเป็นตัวตนของลำปาง งานประเพณีล่องสะเปาชาวนครลำปาง ปี พ.ศ. 2553 – 2563 ให้ความสำคัญกับแนวคิดระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่ใช้เงินเป็นเครื่องมือดำเนินกิจกรรมทางวัฒนธรรม มีการนำอัตลักษณ์และมรดกทางวัฒนธรรมมาจัดเป็นกิจกรรมโดยผู้บริหารเทศบาลและหน่วยงานทุกภาคส่วนในจังหวัดลำปาง ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว และกระตุ้นเศรษฐกิจของจังหวัดลำปางen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610131031-ทองบริบูรณ์ หน่อทอง.pdf22.29 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.