Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77844
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรานอม ตันสุขานันท์-
dc.contributor.authorสุภาวดี คำรังษีen_US
dc.date.accessioned2022-11-06T06:04:28Z-
dc.date.available2022-11-06T06:04:28Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77844-
dc.description.abstractThis research is qualitative research which used visual surveys and the interview with the owners or residents of the architectures. All architectures are located on the main street in old city area of Lamphun: Khum Jao (Traditional Thai-style house), government offices, private residences, commercial buildings and commercial residential buildings. The main streets in this study are Charoen Rat road, Inthayongyot road, Chai Mongkol road, Mukda road, Pratu Li road, and Wat Phra Yuen road. Also, the researcher implemented the survey on the valuable architectures for conservation and mapping the architectural locations in the map, totaling 123 buildings. The data were collected and prioritized the values and conditions of architectures into graphs, including the mapping process. As a result, the architectures in the study can be divided into 4 groups according to the architecture conservation process. 1) The most valuable architectures that are in dilapidated condition 2) The valuable architectures that are in dilapidated condition 3) The most valuable architectures that are in good condition and 4) The valuable architectures that are in good condition. The findings of this study lead to appropriate renovation approach considering the urgency and conditions. This is because the architectures need proper preservation in terms of history and architectural styles, and urban landscape to prevent the architectures from deterioration. Moreover, there should be the suggestion about conservation for local authorities, local people, and the architectures owners in order to plan Lamphun sustainable urban landscape.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าต่อการอนุรักษ์บนถนนสายหลักใน เมืองเก่าลำพูนen_US
dc.title.alternativeValuable architecture for conservation on the main streets in Lamphun old townen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashสถาปัตยกรรม -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashสถาปัตยกรรม -- การอนุรักษ์และการบำรุงรักษา -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashสถาปัตยกรรมที่อยู่อาศัย -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashอาคาร -- ลำพูน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและ วิเคราะห์ ตลอดจนประเมินคุณค่าและสภาพ ของสถาปัตยกรรมที่ควรคู่ต่อการอนุรักษ์บนถนนสาย หลักในเมืองเก่าลำพูน ด้วยการสำรวจทางสายตา (Visual Surveys) สังเกต และการสัมภาษณ์เจ้าของ หรือผู้อยู่อาศัยในสถาปัตยกรรมที่สำคัญเหล่านั้น ซึ่งประกอบด้วย คุ้มเจ้า สถานที่ราชการ บ้านพัก อาศัยเอกชน อาคารพาณิชย์ และอาคารพาณิชย์พักอาศัย บนถนนสายหลักของเมืองเก่าลำพูน ประกอบด้วย ถนนเจริญราษฎร์ ถนนอินทยงยศ ถนนไชยมงคล ถนนมุกดา ถนนประตูลี้ และถนน วัดพระยืน โดยการใช้แบบสำรวจในการให้คุณค่าและการประเมินสภาพสถาปัตยกรรม พร้อมระบุ ตำแหน่งสถาปัตยกรรมที่สำคัญเบื้องต้นลงในแผนที่ (Mapping) รวมจำนวน 123 หลัง จากนั้นจึงนำมา วิเคราะห์ คุณค่าความสำคัญและสภาพของสถาปัตยกรรม เพื่อจัดลำดับความสำคัญและเสนอแนะแนว ทางการอนุรักษ์ โดยแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่ม คือ 1) สถาปัตยกรรมคุณค่าดีมาก สภาพไม่ดี สถาปัตยกรรมคุณค่าดี สภาพไม่ดี 3) สถาปัตยกรรมคุณค่าดีมาก สภาพดี และ 4) สถาปัตยกรรมคุณค่า ดี สภาพดี ผลนี้จะนำไปสู่การกำหนดความเร่งด่วนในการซ่อมแซม เพื่อป้องกันสถาปัตยกรรมที่มี คุณค่า ทั้งทางด้านประวัติศาสตร์ รูปแบบสถาปัตยกรรม และภูมิทัศน์ชุมชน มิให้เสื่อมสลายไปตาม กาลเวลา นำไปสู่ข้อเสนอแนะแนวต่อหน่วยงานท้องถิ่นคนในชุมชน และเจ้าของสถาปัตยกรรม เพื่อ เป็นแนวทางในการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าบนถนนสายหลักในเมืองเก่าลำพูนอย่างยั่งยืน ต่อไปen_US
Appears in Collections:ARC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591731012 สุภาวดี คำรังษี.pdf17.99 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.