Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77839
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรรถวิทย์ พิสิฐอนุสรณ์ | - |
dc.contributor.author | ณัฏฐิติกานต์ จรรยาวัฒน์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-11-05T09:52:32Z | - |
dc.date.available | 2022-11-05T09:52:32Z | - |
dc.date.issued | 2564-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77839 | - |
dc.description.abstract | Liquid crystal display (LCD) printing is the new technology applied in dentistry for dental model fabrication. Printing dental models with hollow design can reduce resin usage, but the accuracy must be considered. The purpose of this study was to evaluate the accuracy of hollow models manufactured by LCD printer with differences in thickness and the presence of a grid. The 1l different designs of hollow models consisted of solid group (control group), hollow with grid (group G) and hollow without grid (group H), and group G and group H were divided by thickness (1.0, 1.5, 2.0, 2.5, and 3.0 mm). Trueness and precision were evaluated by superimposition of 3D images of printed models in Geomagic control X software. The root-mean-square error (RMSE) and average were used in statistical analysis. The interaction of two factors was investigated by two-way ANOVA. One-way ANOVA with Dunnett's T3 multiple comparison was used to compare deviation among the groups at 95% confident interval (p<0.05). The results showed that models with thickness of 3 mm showed highest accuracy. Thickness affected both trueness and precision (F = 63.792, p = 0.000 and F = 99.082, p = 0.000 respectively), but the presence of grid affected only trueness of models (F = 447.932, p = 0.000). The trueness of hollow with grid with thickness of 1.0 - 3.0 mm and non-grid hollow with thickness of3 mm design were significantly higher than other models and comparable to solid (p<0.05). The precision of hollow models with thickness of 3 mm was significantly higher than others and comparable to solid (p<0.05). | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความแม่นของแบบจำลองฟันจากการพิมพ์สามมิติชนิดแอลซีดีในรูปแบบกลวงที่มีความหนาและการมีตะแกรงแตกต่างกัน | en_US |
dc.title.alternative | Accuracy of LCD 3D printed hollow models with differences in thickness and presence of grid | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | การพิมพ์สามมิติ | - |
thailis.controlvocab.thash | ทันตกรรม | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การพิมพ์สามมิติชนิดแอลซีดีเป็นเทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติรูปแบบใหม่ที่นำมาประยุกต์ใช้ ในทางทันตกรรมเพื่อสร้างแบบจำลองฟัน ในการพิมพ์แบบจำลองฟันด้วยรูปแบบกลวงสามารถช่วย ลดปริมาณวัสดุเรซินที่ ใช้ในการพิมพ์ได้ แต่อย่างไร ก็ตามการนำมาใช้งานในทางทันตกรรม จำเป็นต้องคำนึงถึงความแม่นของแบบจำลองฟันด้วย การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความ แม่นของแบบจำลองฟันที่พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ชนิดแอลซีดี โดยการออกแบบแบบจำลองฟันใน รูปแบบกลวง ซึ่งมีปัจจัยด้านความหนาของการพิมพ์กลวงและการมีตะแกรงบริเวณฐานที่มีความ แตกต่างกัน โดยทำการศึกษาโดยการพิมพ์แบบจำลองฟันในรูปแบบกลวงที่แดกต่างกันทั้งหมด 11 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแบบตัน (กลุ่มควบคุม) กลุ่มทำกลวงแบบมีตะแกรง และกลุ่มทำกลวงแบบไม่มี ตะแกรง โดยกลุ่มที่ทำกลงแบบมีและไม่มีตะแกรงจะมีความหนาของการกลวงที่แตกต่างกันได้แก่ 1.0, 1.5, 2.0, 2.5 และ 3.0 มิลลิเมตร ทำการทดสอบความเที่ยงตรงและความเที่ยงของแบบจำลองโดย การซ้อนทับภาพสามมิติด้วยโปรแกรม Geomagic Control X และนำค่าความแตกต่างเฉลี่ยยกกำลัง สองและค่าเฉลี่ยของการเบี่ยงเบนมาวิเคราะห์ทางสถิติ โดยทำการทดสอบผลของปัจจัยด้านความหนา และการมีตะแกรงด้วยการวิเคราะห์ทางสถิติชนิดความแปรปรวนจำแนกสองทาง และทำการ เปรียบเทียบความเบี่ยงเบนในแต่ละกลุ่มด้วยการวิเคราะห์ทางสถิติชนิดความแปรปรวนจำแนกทาง เดียวด้วยการทดสอบเชิงซ้อนวิธี Dunnett's T3 ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (p<0.05) ผลการศึกษา พบว่า แบบจำลองกลวงที่มีความหนา 3.0 มิลลิเมตรมีความแม่นสูงที่สุด โดยปัจจัยด้านความหนาของ การกลวงมีผลต่อทั้งความเที่ขงตรงและความเที่ยงของแบบจำลอง (F = 63.792, p = 0.000 และ F= 99.082, p = 0.000 ตามลำดับ) ส่วนปัจจัยด้านการมีตะแกรงมีผลต่อความเที่ยงตรงของแบบจำลอง เท่านั้น (F = 447.932, p = 0.000) ความเที่ยงตรงของแบบจำลองกลุ่มทำกลวงแบบมีตะแกรงที่มีความ หนา 1.0 - 3.0 มิลลิเมตรและกลุ่มทำกลวงแบบไม่มีตะแกรงที่มีความหนา 3 มิลลิเมตรมีความเที่ยงตรง มากกว่ากลุ่มอื่นและ ไม่แตกต่างกับกลุ่มแบบตันอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) และความเที่ยงของ แบบจำลองกลวงที่มีความหนา 3.0 มิลลิเมตรมีความเที่ยงมากกว่ากลุ่มอื่นและ ไม่แตกต่างกับกลุ่มแบบ ตันอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) | en_US |
Appears in Collections: | DENT: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610931007 ณัฏฐิติกานต์ จรรยาวัฒน์.pdf | 3.4 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.