Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77825
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorCharuk Singhapreecha-
dc.contributor.advisorJirakom Sirisrisakulchai-
dc.contributor.authorTan, Yuen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T09:08:15Z-
dc.date.available2022-11-05T09:08:15Z-
dc.date.issued2021-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77825-
dc.description.abstractThe research question of this study is: What are the determinants of happiness in the economic aspect? According to this research question, a large amount of literature was reviewed, and some hypotheses were put forward. After that, we defined our research goals as: 1). Find the determinants of happiness under the development of economics, family, and individual. 2). Compare and analyse the priorities in considering of happiness in different countries. Attempt to compare with the research results of existing happiness economics research. Subsequently, the wave7 survey data in the World Value Survey was adopted as the data for analysis. After establishing the theoretical model and the analysis model, analyse the data using LASSO regression and truncated regression methods. The main findings are a). Countries with high per capita GDP have less impact on happiness than countries with low per capita GDP. b). The development of science and technology will enhance happiness. c). The financial status of a family has a significant impact on happiness. d). For some countries in East Asia, unemployment will reduce happiness. But in some countries in Southeast Asia, unemployment can increase happiness. e). Having or not having religious beliefs does affect happiness. f). In every country, the impact of health and life security on happiness is significant. g). In most countries, the long-term performance of happiness, which is life satisfaction, dominates the composition of happiness. In the last part, based on our findings, some policy implications are proposed, and the limitations of the research are also analysed. Finally, some suggestions for future research are put forward.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleEconomic aspect of happiness and its determinants: a case study in East and Southeast Asian countriesen_US
dc.title.alternativeประเด็นทางด้านเศรษฐศาสตร์ของความสุขและตัวกำหนด: กรณีศึกษาในประเทศเอเซียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshHappiness -- Economic aspects-
thailis.controlvocab.lcshHappiness-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยคำถามที่เกี่ยวข้อง คือ ตัวกำหนดความสุขในด้านเศรษฐกิจคือ อะไร โดยผู้วิจัยได้ศึกษา ค้นคว้าข้อมูลทุติยภูมิจากการศึกษาสมมดิฐานและทบทวนวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้องซึ่งการศึกษาครั้งนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อ 1). ศึกษาปัจจัยของความสุขภายใต้การพัฒนาเศรษฐกิจ ครอบครัว และปัจเจกบุคคล 2). เปรียบเทียบและวิเคราะห์ลำดับความสำคัญในการพิจารณาของ ความสุขในแต่ละประเทศ ผ่านการวิเคราะห์ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลไครงการ World Value Survey (WVS) ฐานข้อมูล Wave 7 ปี ค.ศ. 20 17 - 2020 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสำรวจค่านิยมของประชากร ในแต่ละประเทศทั่วโลก วิธีการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล โคยใช้วิธีการวิเคราะห์การถคถอยแบบแลซโซ (LASSO regression) และการวิเคราะห์การถดถอยแบบ truncated regression ผลการศึกษาพบว่า 1. ประเทศที่มีระดับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัว (GDP Per Capita) สูงมีผลกระทบต่อความสุขที่น้อยกว่าประเทศที่มีระดับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัว (GDP Per Capita) ต่ำ 2. การพัฒนาของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าช่วยส่งผลให้มีความสุข มากขึ้น 3. ระดับสถานะทางการเงินของครอบครัวส่งผลต่อระดับความสุขอย่างมีนัยสำคัญ 4. บาง ประเทศในแถบเอเชียตะวันออกนั้น การว่างของประชาชนส่งผลต่อระดับความสุขที่ลดลง แต่บาง ประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้การว่างงานของประชาชนกลับส่งผลต่อระดับความสุขเพิ่ม มากขึ้น 5. สำหรับความเชื่อทางศาสนาไม่มีผลต่อระดับความสุข 6. ผลกระทบทางด้านสุขภาพและ ความมั่นคงในชีวิตส่งผลต่อระดับความสุขอย่างมีนัยสำคัญในทุกประเทศ 7. ประสิทธิภาพของ ความสุขในระยะยาวของประเทศส่วนใหญ่ ได้แก่ ความพึงพอใจในชีวิต และองค์ประกอบต่าง ๆ ของ ความสุข ซึ่งจากผลการศึกษาข้างต้นสามารถเสนอข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและได้ดำเนินการ วิเคราะห์ข้อจำกัดของการศึกษาครั้งนี้ อีกทั้ง หวังว่าผลการศึกษาและข้อเสนอแนะของการศึกษาครั้งนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาในอนาคตen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611635832 TAN, YU.pdf1.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.