Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77815
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรพล ยะมะกะ-
dc.contributor.advisorภารวี มณีจักร-
dc.contributor.authorนุชนารถ ภิระบรรณ์en_US
dc.date.accessioned2022-11-05T08:23:00Z-
dc.date.available2022-11-05T08:23:00Z-
dc.date.issued2564-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77815-
dc.description.abstractThis paper aims at studying the hedging strategy in the foreign exchange market. The top five countries which has the highest foreign exchange turnover by currency pair in the world, namely Canadian Dollar (USD/CAD) Chinese Yuan(USDICNY) Euro (USD/EUR) Pound Sterling (USD/GBP) and Yen (USD/JPY), are considered. This study considers 5 minutes, 30 minute, 60 minute and daily closing data of these datasets, therefore, a histogram approach is used as a management tool to manage our high frequency data. Various econometric models are considered to estimate the conditional correlation and covariance of futures and spot and the appropriate model is selected by using Bayesian Information Criterion (BIC) and Log-Likelihood (LL). This study found that the model MS-TVTP-COPULA GARCH is the most suitable. Besides, the model provides the highest overall average Hedge Effectiveness (HE) value when compared to other models. Therefore, the author cloud conclude that the market structure of foreign currencies, both the spot and futures,has a non-linear structure and structural change. Moreover, the spot and futures has dynamic structural. structural. The currencies that provide the highest hedge effectiveness is the 30-minutes USD/CAD. On the other hand, 60- minutes USD/CAD is lowest hedge effectiveness. Also, this study found that different data frequencies may provide different risk compensation results. Consequently, choosing to analyze data from the closing price each day may not be very reliable.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราen_US
dc.titleกลยุทธ์การป้องกันความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศโดยใช้ข้อมูลฮิสโตรแกรมen_US
dc.title.alternativeCurrency hedging strategies of foreign exchange rate using histogram valued dataen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashปริวรรตเงินตรา-
thailis.controlvocab.thashเงินตราต่างประเทศ-
thailis.controlvocab.thashการเงินระหว่างประเทศ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้ได้ศึกษากลยุทธ์การป้องกันความเสี่ยงในตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ อันดับคู่สกุลเงินที่มีปริมาณธุรกรรมเงินตราดำงประเทศ มากที่สุดในปี ค.ศ.2019 ได้แก่ ดอลลาร์ แคนนาดา (USD CAD) หยวน (USD/CNY) ยูโร (USD /EUR) ปอนค์สเตอร์ลิงสหราชอาณาจักร (USD/GBP) และ เยน (USD/JPY) ซึ่งทำการศึกษา 4 ช่วงระยะ คือ 5 , 30 นาที และ 60 นาที ข้อมูล ลักษณะนี้ เรียกว่า ข้อมูลที่มีความถี่สูง ซึ่งเป็นข้อมูลที่ก่อให้เกิดการยากต่อการจัดการ ดังนั้นจึงใช้การ จัดการข้อมูลแบบฮิสโตรแกรมหาตัวแทนที่เหมาะสมที่สุดของวัน และใช้ข้อมูลรายวันซึ่งเป็นข้อมูล ราคาปีด ปัจจุบันมีแบบจำลองมากมายที่ใช้ในการหาความผันผวนและค่าสัมพันธ์ ดังนั้นเพื่อที่จะ หาแบบจำลองที่ดีที่สุด จึงใช้ Bayesian Information Criterion และ Log-Likelihood เป็นเกณฑ์การ พิจารณา พบว่าแบบจำลอง MS-TVTP-Copula GARCH เป็นแบบจำลองที่เหมาะสมที่สุด นอกจากนี้ แบบจำลองดั่งกล่าวยังให้ค่าเฉลี่ยประสิทธิภาพในการชดเชยความเสี่ยงโดยรวมสูงที่สุดเมื่อกับเทียบ แบบจำลองอื่น ๆ ซึ่งสามารถยืนยันได้ว่าตลาดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและตลาคสัญญา ซื้อขายล่วงหน้าทั้ง 5 ประเทศ มีโครงสร้างที่ไม่ใช้เส้นตรง (Nonlinear) และมี โครงสร้างที่เปลี่ยนแปลง ไปตามสถานะ(Structural Change) รวมถึงเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา (Dynamic) โดยที่ค่าเฉลี่ยประสิทธิ สิทธิภาพในการป้องกันความเสี่ยงของสกุลเงินดอลลาร์แคนาดา (USD/CAD) ราย 30 นาที สูงที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลความถี่อื่น ๆ ในขณะที่สกุลเงินปอนด์สเตอร์ลิงสหราชอาณาจักร (USID GBP) ราย 60 นาที ให้ค่าเฉลี่ยประสิทธิภาพในการป้องกันความเสี่ยงน้อยที่สุด เท่ากับ 0.022 ดังนั้น ค่าเฉลี่ยประสิทธิภาพในการป้องกันความเสี่ยงที่สูงที่สุดของทุกสกุลเงินไม่ได้มาจากข้อมูล รายวัน แต่บางสกุลเงินมาจากข้อมูลราชนาทีที่นำมาแปลงเป็นฮิตโตรแกรม จึงควรระมัดระวังอย่างถี่ ถ้วนในการใช้ข้อมูลแบบแบบรายวันen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621631014 นุชนารถ ภิระบรรณ์.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.