Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77812
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKriangkrai Thongkorn-
dc.contributor.advisorVeerasak Punyapornwithaya-
dc.contributor.advisorKannika Na Lampang-
dc.contributor.authorPirun Chutipongvivateen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T08:17:20Z-
dc.date.available2022-11-05T08:17:20Z-
dc.date.issued2022-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77812-
dc.description.abstractConsequently, the rabies situation was declared as a global problem. According to Thailand national rabies control activities, a sterilization program to control the dog and cat population was set up in many areas. This study was conducted to determine/investigate the incidence of short-term sterilization complications in cats with/without antibiotic administration after sterilization and to study the association between short-term surgical complications and other relevant factors. 492 Female cats which participated in Chiang Mai municipal birth control activity were included in the study and monitored for short-term surgical complications. Cats were divided into 244 cats in sterilization with pre-operative antibiotic administration group and 248 cats in group sterilization with pre- and post-operative antibiotic administration group. The relevant factors were investigated by using risk ratios (RR) with a 95% confidence level. The result showed that 25 cats (5.08%) had short-term complications. There was not significantly different of the incidence of short-term complications between cats with postoperative antibiotics (4.92%) and without postoperative antibiotics (5.24%). For risk factors finding, cats with external parasites had more chance of 2.35 times more than cats without external parasites in overall cats. Duration in the captive area factor showed that a prolonged cat kept in a cage or indoor area was a protective factor. If 2-day or less in restrict area as a baseline, the risk ratio is equal to 0.38 and 0.18 for 5-day and 7-day in a cage or indoor, respectively. In conclusion, cat sterilization without post-operative antibiotic administration in female cats can be operated under the aseptic concept and pain management sterilization.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectCat sterilizationen_US
dc.subjectComplicationen_US
dc.subjectPostoperative antibioticen_US
dc.subjectChiang Mai municipalityen_US
dc.titleThe incidence of short-term complications in female cats after sterilization between pre-operative antibiotic only versus pre- and post-operative antibiotic administration groupsen_US
dc.title.alternativeอุบัติการณ์ของข้อแทรกซ้อนระยะสั้นหลังจากการผ่าตัดทำหมันในแมวเพศเมียระหว่างกลุ่มที่มีการให้ยาปฏิชีวนะก่อนผ่าตัด กับกลุ่มที่มีการให้ยาปฏิชีวนะทั้งก่อนและหลังผ่าตัดen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashRabies-
thailis.controlvocab.thashCats -- Surgery-
thailis.controlvocab.thashAnimal contraception-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจุบันโรคพิษสุนัขบ้าถือเป็นปัญหาระดับโลก เพื่อสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าในประเทศไทยในพื้นที่ต่างๆ หนึ่งในกิจกรรมที่จำเป็นต้องดำเนินการคือการทำหมันแมวเพื่อควบคุมประชากรแมว การศึกษานี้มีเป้าหมายเพื่อหาอุบัติการณ์ของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดระยะสั้นภายหลังการผ่าตัดทำหมันในแมวในการผ่าตัดที่มีการใช้และไม่ใช้ยาปฏิชีวนะหลังผ่าตัด รวมถึงปัจจัยที่เป็นความเสี่ยงผลต่อการเกิดอุบัติการณ์ของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดระยะสั้นภายหลังการผ่าตัดทำหมันในแมว แมวจำนวน 490 ตัวที่เข้ารับบริการทำหมันของโครงการควบคุมประชากรสัตว์เลี้ยงเทศบาลนครเชียงใหม่ในปี พ.ศ.2563 เพื่อเปรียบเทียบอุบัติการณ์และศึกษาปัจจัยเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดระยะสั้นภายหลังการผ่าตัดทำหมันแมวถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม อันประกอบไปด้วยกลุ่มที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะหลังผ่าตัดจำนวน 243 ตัว และกลุ่มที่ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะหลังผ่าตัดจำนวน 247 ตัว ดังกล่าวระหว่างกลุ่มที่มีการใช้และไม่ใช้ยาปฏิชีวนะหลังผ่าตัด ผลศึกษาพบว่า25 ตัวจากแมวทั้งหมด (5.08%) พบอุบัติการณ์ของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดระยะสั้นภายหลังการผ่าตัดทำหมัน ซึ่งแมวจำนวน 12 ตัว (4.92%) อยู่ในกลุ่มที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะหลังผ่าตัดจำนวน และจำนวน 13 ตัว (5.24%) อยู่ในกลุ่มที่ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะหลังผ่าตัด ทั้งนี้ไม่พบว่ามีความแตกต่างของอุบัติการณ์ดังกล่าวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างสองกลุ่มดังกล่าว(p-value=0.87) โดยพบว่าแมวที่พบปรสิตภายนอกมีโอกาศเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดระยะสั้นภายหลังการผ่าตัดทำหมันมากกว่าแมวที่ปราศจากปรสิต 2.35 เท่า และพบว่าระยะเวลาที่แมวอยู่ภายใต้การจำกัดบริเวณหรืออยู่ภายในโรงเรือนเป็นปัจจัยป้องกัน แมวจำนวน 9 ตัวได้รับการรักษาภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดโดยการล้างแผลและมีเพียง 7 ตัวที่จำเป็นต้องการให้ยาปฏิชีวนะในการรักษาภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด จากการศึกษาครั้งนี้แสดงถึงการผ่าตัดทำหมันแมวโดยไม่ใช้ยาปฏิชีวนะหลังผ่าตัดสามารถดำเนินการได้โดยการผ่าตัดที่อยู่ภายใต้แนวความคิดเทคนิคปลอดเชื้อen_US
Appears in Collections:VET: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pirun Chutipongvivate.pdfรหัส นศ 611435917579.67 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.