Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77792
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChetthapoom Wannapaisan-
dc.contributor.advisorParud Boonsritan-
dc.contributor.advisorNannaphat Saenghong-
dc.contributor.authorFasiri Ahnen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T07:43:43Z-
dc.date.available2022-11-05T07:43:43Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77792-
dc.description.abstractThailand places great importance on religion and makes confessional/devotional school religious education (RE) compulsory. While there is increasing awareness of multicultural education in Thai academia, studies concerning religious plurality are still lacking. This study discusses issues related to religion's functional and conflict theories in the context of modern Thailand. Further, it illuminates Thailand's religious climate based on the right to freedom of religion of the United Nations, and RE's status in other countries. This study addresses the following research objectives: 1. Examine the rhetorical features of Thai laws and policies regarding religious education, and how it is reflected in public education 2. Investigate how RE policies are implemented and practiced in Northern Thai public schools, and how it affects the attitudes and RE perceptions of school directors, RE teachers, and students 3. Examine the opinions of educators based on the research findings, and make suggestions for the furtherance of religious education. Four public schools were randomly and purposefully selected from each of four northern Thai educational service areas involving four school directors, twelve RE teachers, four groups of Buddhist students, and four groups of religious minority students for the field study. Data recording forms and observations, questionnaires, religious literacy tests, and semi-structured interviews were applied to collect data. Content analysis, mean, percentage, and dependent t-test were conducted to answer the first and the second research objective. A focus group discussion was arranged with the analyzed data to gather their opinions and suggestions regarding the research findings. After that, connoisseurship was organized to understand the views and recommendations from the various social aspects which accomplish the third research objective. The findings of this study suggest 1. Thai constitutions, policies, and the national RE curriculum demonstrate discrepancies. Although the constitution guarantees people's equal religious rights, it violates the principle itself by favoring and supporting a particular religion over others. Thailand's RE policies and RE curriculum require devotional RE but the Buddhist-Oriented RE is the only choice. 2. Political prioritization of Buddhism in the Thai constitution and public RE policies resulted in Buddhist hegemony and superiority in public schools' religious education that marginalizes religious minority students. Public schools implement devotional Buddhist oriented RE curriculum for all, regardless of the learners' faith, which contradicts the Basic Core Curriculum's pledge to educate "according to one's own religion." The school teachers viewed this type of hegemonic RE as "good" for every student, but the religious minority students disagreed. 3. Educators who participated in the discussions agreed that there is no space allowed for religious minority students in the present RE. Although participants approved the need for equitable RE suitable for each student, they also pointed out that we should also be aware of the dangers posed when each religion insists on their religious beliefs in public space. Instead of pressing on faith-based RE in public schools, many suggested that the RE curriculum should promote an education that recognizes religious diversity, promotes living peacefully together, and one where all religions are jointly responsible for social problems.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleStudy of religious education in Northern Thai public schoolsen_US
dc.title.alternativeการศึกษาศาสนศึกษาในโรงเรียนรัฐบาลไทยเขตภาคเหนือen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshReligious education-
thailis.controlvocab.lcshPublic schools -- Thailand, Northern-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractประเทศไทยให้ความสำคัญกับศาสนาเป็นอย่างมากและได้นำศาสนศึกษาเข้าบรรจุเป็น หลักสูตรการเรียนการสอนภาคบังคับในโรงเรียนอย่างไรก็ตามแม้ว่าความตระหนักถึงการศึกษาเชิง พหุวัฒนธรรมในระบบการศึกษาไทยจะเพิ่มมากขึ้นการศึกษาเกี่ยวกับศาสนาที่หลากหลายยังไม่ ปรากฎให้เห็นเด่นชัดนักงานวิจัยชิ้นนี้มีประเด็นการศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีการทำงานและความขัดแย้ง ของศาสนาในบริบทของประเทศไทยสมัยใหม่นอกจากนี้การศึกษาดังกล่าวยังช่วยให้เล็งเห็นถึง สถานภาพทางศาสนาของประเทศไทยอย่างเด่นชัดโดยอยู่บนพื้นฐานของหลักสิทธิและเสรีภาพด้าน ศาสนา ของสหประชาชาติประกอบกับสถานภาพของการศึกษาศาสนาในประเทศอื่นๆ ด้วยงานวิจัย ฉบับนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบริบทและสำนวนทางกฎหมายและนโยบายของประเทศไทยที่ เกี่ยวข้องกับศาสนศึกษา รวมถึงผลกระทบของกฎหมายและนโยบายที่มีต่อการศึกษาของประเทศ 2) สำรวจโรงเรียนรัฐในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทยว่ามีการนำนโยบายด้านศาสนศึกษาไปปรับ ใช้อย่างไร และศึกษาถึงผลกระทบที่มีต่อทัศนคติและการรับรู้ด้านศาสนศึกษาของผู้บริหาร ครูสอน วิชาศาสนา และนักเรียนในโรงเรียน 3) ศึกษาความคิดเห็นของนักการศึกษา (educators) บนพื้นฐาน ของผลการวิจัย และให้ข้อเสนอแนะสำหรับการพัฒนาการจัดการศาสนศึกษาต่อไป งานวิจัยชื้นนี้ได้คัดเลือกโรงเรียนรัฐบาล 4 แห่งจากเขตพื้นที่การศึกษาภาคเหนือทั้ง 4 เขต พื้นที่ โดยวิธีแบบสุ่มและเลือกแบบเจาะจง กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 4 คน ครู สอนวิชาศาสนาจำนวน 12คนนักเรียนกลุ่มศาสนาพุทธจำนวน 4 กลุ่ม และนักเรียนกลุ่มศาสนาอื่นๆ จำนวน 4 กลุ่ม สำหรับการศึกษาภาคสนาม ทั้งนี้ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบฟอร์มการ บันทึกข้อมูลและการสังเกต แบบสอบถาม การทดสอบความรู้ทางศาสนา และการสัมภาษณ์กึ่งมี โครงสร้าง และใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ค่าเฉลี่ย อัตราร้อยละ และ dependent t-test ในการตอบ วัตถุประสงค์วิจัยลำดับที่ 1 และ 2 นอกจากนี้งานวิจัยได้ทำการวิเคราะห์เพื่อรวบรวมความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับผลการวิจัย จากการอภิปรายเป็นกลุ่ม (a focus group) และได้ดำเนินการจัด ประชุมผู้ทรงคุณวุฒิ (connoisseurship) เพื่อให้ได้แนวคิดและข้อเสนอแนะจากมุมมองทางสังคมที่ หลากหลาย ให้บรรลุวัตถุประสงค์การวิจัยลำดับที่ 3 ผลการวิจัยพบว่า 1) กฎหมายรัฐธรรมนูญนโยบายและหลักสูตรการศึกษาด้านศาสนาของ ประเทศไทยคลาดเคลื่อนจากหลักการแม้ว่ารัฐธรรมนูญจะรับรองสิทธิความเท่าเทียมกันทางด้าน ศาสนาแต่ปรากฏว่ามีการละเมิดหลักการดังกล่าวโดยให้สิทธิพิเศษและสนับสนุนบางศาสนา เหนือกว่าศาสนาอื่นๆ นอกจากขึ้นโยบายการศึกษาและหลักสูตรศาสนศึกษาของประเทศไทยได้ระบุ ให้เลือกศึกษาศาสนาตามศาสนาในความเชื่อของตนแต่กลับมีเพียงหลักสูตรวิถีพุทธเป็นเพียง หลักสูตรเดียวเท่านั้นที่เป็นหลักสูตรเลือกให้ศึกษา 2) การจัดลำดับความสำคัญทางการเมืองให้กับ ศาสนาพุทธเป็นศาสนาหลักในรัฐธรรมนูญและนโยบายการศึกษา ส่งผลให้เกิดการครอบงำ (hegemony) และความเหนือกว่า (superiority) ของศาสนาพุทธในการศึกษาศาสนาในหลักสูตรของ โรงเรียนรัฐบาล ซึ่งเป็นการลดคุณค่าและความสำคัญของกลุ่มนักเรียนในศาสนาอื่นๆ นอกจากนี้ โรงเรียนของรัฐยังใช้หลักสูตรโรงเรียนวิถีพุทธแบบอุทิศตนสำหรับนักเรียนทุกคนโดยไม่คำนึงถึง ความเชื่อทางศาสนาของผู้เรียน ซึ่งขัดแย้งกับหลักพื้นฐานของหลักสูตรแกนกลางที่กำหนดให้ศึกษา ศาสนา "ตามศาสนาที่ตนนับถือ" ครูผู้สอนประจำวิชายังมองว่าการศึกษาในรูปแบบดังกล่าวเป็น การศึกษาที่ "ดี"ต่อนักเรียนทุกคนแต่นักเรียนศาสนาอื่นๆ ไม่เห็นด้วย 3) ผู้บริหารโรงเรียนและครู สอนศาสนาที่เข้าร่วมการอภิปรายเห็นพ้องกันว่า ในปัจจุบันยังไม่มีพื้นที่ในการศึกษาศาสนาให้ นักเรียนศาสนาอื่น ผู้เข้าร่วมการอภิปรายและที่ประชุมผู้ทรงคุณวุฒิยอมรับว่ามีความจำเป็นการสอน ศาสนาอย่างเสมอภาคและเหมาะสมให้กับนักเรียนแต่ละคนนอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นว่าบุคคลควร ตระหนักถึงอันตรายที่อาจ เกิดขึ้นเมื่อแต่ละศาสนายืนยันในความเชื่อทางศาสนาของตนด้วยกันใน พื้นที่สาธารณะ อย่างไรก็ตามผู้ร่วมอภิปรายหลายคนให้ข้อแนะนำว่าหลักสูตรศาสนศึกษาควร ตระหนักถึงความหลากหลายทางศาสนาส่งเสริมให้แต่ละศาสนาอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขและ สนับสนุนให้ทุกศาสนารับผิดชอบต่อปัญหาทางสังคมร่วมกัน แทนที่จะกดดันให้มีการศึกษาศาสนา แบบอุทิศตนในโรงเรียนของรัฐen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580251009 ฟ้าสิริ อัน.pdf2.66 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.