Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74242
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPitipong Yodmongkol-
dc.contributor.advisorRatapol Wudhikarn-
dc.contributor.advisorWorawit Janchai-
dc.contributor.authorOraya Wisawapaisarnen_US
dc.date.accessioned2022-10-15T09:20:32Z-
dc.date.available2022-10-15T09:20:32Z-
dc.date.issued2021-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74242-
dc.description.abstractThis study was an action research that combined theories and practices through change and reflection in a problematic situation in a real organization. Pilot research in an organizational case that was a pharmaceutical company in Bangkok, Thailand, indicated critical gaps in enterprise content management (ECM), which was called an electronic trial master file (eTMF). The critical gap was the lack of knowledge of essential documents, eTMF management processes, the master list, and the functional system. Therefore, the research following the gaps identification phase had two objectives regarding human capital development and human capital measurement in eTMF. This research consisted of four stages: pre-implementation, implementation - Phase I, implementation - Phase II, and post-implementation. The research participants comprised 25 employees: the country manager, experts, the assistant, and users of the eTMF. For human capital development, it is not known how an organizational case enhances human capital in an eTMF. Therefore, the first research objective was to enhance expeditious human capital in the eTMF by using shared vision, competency- based management, knowledge creation, experiential learning, and workplace learning. The research used shared vision to set the shared visions, employed competency-based management to identify and validate the competencies in the eTMF, and combined knowledge creation, experiential learning, and workplace learning to develop and validate the training program for users in the eTMF. The research applied a focus group to set the shared visions for human capital development in the eTMF, as well as to develop and validate the competencies and the training program in the eTMF. The research also adopted competence and performance assessment to assess the users' competence and performances and adopted a correlation method to validate the competencies in the eTMF. Moreover, the research utilized a quantitative analysis approach for the analysis of the focus group and a quantitative analysis approach for the analysis of the assessment and correlation. The results presented the competencies and training program in the eTMF in which user participation was critical for establishing the appropriate competencies and the training program to support the achievement of the performances. The competencies in the eTMF consisted of three dimensions comprising knowledge, skills, and attributes with 11 competencies concerning the ECM components and the specific organizational ECM context. The training program in the eTMF consisted of five methods comprising sharing, coaching and teach-back, learn by doing, communication, and monitoring. All users of the eTMF met the standard level of competency and had increased scores of performances. The average level of users' competence for the overall competencies (Sig. = 0.001) and the average score of the users' performances in eTMF: percent of no error found (Sig. = 0.008) significantly increased the end of the implementation - Phase II. For the human capital measurement, it is not known how an organizational case would measure human capital in an eTMF in a monetary value. Although there are many studies in human capital accounting methods, the organizational case could not adopt the existing human capital accounting methods to measure human capital in monetary terms due to the unique organizational ECM contexts. Therefore, the second research objective was to measure human capital in human capital development in an eTMF by using human capital accounting to identify the variables and develop a formula for measuring human capital in a monetary value. Thus, human capital in a monetary value allowed the organizational case to appropriately manage and evaluate human capital development in the eTMF. Additionally, the research applied a literature review, semi-structured interview, documentary search, and human capital accounting to identify the variables, develop the formula, and measure human capital in a monetary value. The research also used a working hypothesis, triangulation, expert review, and practitioner review to validate and analyze these variables, formulas, and values. The required variables included the training cost (expense), opportunity cost (hourly salary and total hours spent in the human capital development), value-added in competency (monthly salary, percentage of time in the eTMF, and competency proportion), and value-added in performance (monthly salary, percentage of time in the eTMF, and performance proportion). The formula for human capital measurement in human capital development in the eTMF was the value-added in the competency and value-added in the performance, and its value was 112,744.23 US Dollars. The results provided the human capital in monetary values comprising the investments and benefits, which most values were intangible. The investments were the training and opportunity costs, and the benefits were value-added in the competencies and performances required for the eTMF. This case evaluated the effectiveness of human development by comparing the investments and benefits, and its value was 1.62. This research contributed to the workplace, pharmaceutical industry, and academics by providing approaches to enhance human capital and measure human capital in a monetary value in ECM, which was called an eTMF. The research also contributed to the gap identification that guided the ways to improve performance in an eTMF. In case people were the primary area for development, organizations that would implement an eTMF and ECM could use this research study's human capital development approaches. In addition, this research proposed human capital management concepts by providing approaches to enhance human capital during the ECM adoption phase and provided methods to measure and evaluate human capital in training and development in monetary terms.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectelectronic trial master fileen_US
dc.titleAcceleration of enhancing human capital to improve performances of users in enterprise content managementen_US
dc.title.alternativeการเร่งการเสริมสร้างทุนมนุษย์ในการปรับปรุงประสิทธิภาพของผู้ใช้งานระบบการจัดการข้อมูลในองค์กรen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshHuman capital-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาเชิงปฏิบัติการที่ผสมผสานทฤษฎีและแนวปฏิบัติเพื่อ แก้ปัญหาเกี่ยวกับระบบการจัดการเนื้อหาที่เรียกว่า อิเล็กทรอนิกส์ไทรอัลมาสเตอร์ไฟล์ (eTMF) ใน องค์กรกรณีศึกษา ซึ่งเป็นบริษัทยาในกรุงเทพฯ ประเทศไทย โดยปัญหาที่สำคัญ คือ ผู้ใช้งานระบบ eTMF ขาดความรู้เกี่ยวกับเอกสารสำคัญ กระบวนการ เครื่องมือ และฟังก์ชันของระบบ การศึกษานี้มี วัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ การพัฒนาทุนมนุษย์ และการวัดทุนมนุษย์ใน eTMF ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนก่อนการใช้ระบบ ขั้นตอนการใช้ระบบระยะที่ 1 ขั้นตอนการใช้ระบบระยะที่ 2 และขั้นตอนหลังการใช้ระบบ ผู้ข้าร่วมการศึกษาประกอบด้วยพนักงานจำนวน 25 คน ได้แก่ ผู้จัดการ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ช่วยการศึกษา และผู้ใช้ eTMF เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาว่าองค์กรกรณีศึกษาจะเพิ่มทุนมนุษย์ใน eTMF ได้อย่างไร ดังนั้น วัตถุประสงค์ของการศึกษาประการแรก คือ เพื่อเพิ่มทุนมนุษย์อย่างรวดเร็วใน eTMF การศึกษานี้ใช้ หลักการวิสัยทัศน์ร่วมกัน การจัดการภายใด้พื้นฐานของความสามารถ การสร้างความรู้ การเรียนรู้จาก ประสบการณ์ และการเรียนรู้ในสถานที่ทำงาน โดยใช้การสนทนากลุ่มเพื่อกำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกัน เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความสามารถและโปรแกรมการฝึกอบรมสำหรับ eTMF โดยได้ประเมิน ความสามารถและประสิทธิภาพของผู้ใช้ eTMF รวมทั้งใช้วิธีการสหสัมพันธ์เพื่อตรวจสอบ ความสามารถ การศึกยนี้ใช้การวิเคราะห์เชิงคุณภาพสำหรับวิเคราะห์การสนทนากลุ่ม และการ วิเคราะห์เชิงปริมาณสำหรับประเมินความสามารถและประสิทธิภาพ และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า การมีส่วนร่วมของผู้ใช้ eTMF มีความสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนา ความสามารถและโปรแกรมการฝึกอบรมที่เหมาะสมเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพ ความสามารถ ประกอบด้วย ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ จำนวนทั้งหมด 11 ความสามารถ ซึ่งเกี่ยวข้องกับ องค์ประกอบและบริบทของระบบการจัดการเนื้อหาขององค์กร โปรแกรมการฝึกอบรมสำหรับ eTMF ประกอบด้วย การแบ่งปัน การฝึกสอนและการสอนกลับ การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ การสื่อสาร และการเฝ้าติดตาม โดยหลังเสร็จสิ้นขั้นตอนการใช้ระบบระยะที่ 2 ผู้ใช้ eTMF ทุกคนมีระดับ ความสามารถตามมาตรฐาน ระดับความสามารถโดยเฉลี่ยของผู้ใช้ eTMF เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (Sig. = 0.001) และคะแนนเฉลี่ยของประสิทธิภาพของผู้ใช้ eTMF ได้แก่ ร้อยละของการไม่พบ ข้อผิดพลาด (Sig. = 0.008) เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาว่าองค์กรกรณีศึกษาจะวัดทุนมนุษย์ใน eTMF เป็นมูลค่าเงินอย่างไร แม้ว่าจะมีการศึกษาเกี่ยวกับการบัญชีทุนมนุษย์ แต่องค์กรกรณีศึกษาไม่สามารถนำการบัญชีทุนมนุษย์ ที่มีอยู่มาใช้ในการวัดทุนมนุษย์ในรูปแบบมูลค่าเงินได้ เนื่องจากบริบทของระบบการจัดการเนื้อหา ขององค์กรที่แตกต่างกัน ดังนั้น วัตถุประสงค์การศึกษาประการที่ 2 คือ เพื่อวัดทุนมนุษย์ในการพัฒนา ทุนมนุษย์ใน eTMP โดยใช้การบัญชีทุนมนุษย์ในการระบุตัวแปรและพัฒนาสูตรการคำนวณสำหรับ การวัดทุนมนุษย์ในรูปแบบมูลก่าเงิน ทุนมนุษย์ในรูปแบบมูลก่าเงินช่วยให้องค์กรกรณีศึกษาสามารถ จัดการและประเมินการพัฒนาทุนมนุษย์ใน eTMF ได้อย่างเหมาะสม โดยใช้การทบทวนวรรณกรรม การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง การสืบค้นเอกสาร และการบัญชีทุนมนุษย์ เพื่อระบุตัวแปร พัฒนา สูตรการคำนวณ และวัดมูลค่าเงินของทุนมนุษย์ การศึกษานี้ยังใช้สมมติฐานที่ใช้งานได้ การ ตรวจสอบสามเส้า การตรวจสอบ โดยผู้เชี่ยวชาญ และการตรวจสอบโดยผู้ปฏิบัติงาน เพื่อตรวจสอบ และวิเคราะห์ตัวแปร สูตรการคำนวณ และมูลค่าที่คำนวณได้ ตัวแปรที่จำเป็น ได้แก่ ต้นทุนการฝึกอบรม (ค่าใช้จ่าย) ค่าเสียโอกาส (เงินเดือนรายชั่วโมง และ จำนวนชั่วโมงทั้งหมดที่ใช้ในการพัฒนทุนมนุษย์ มูลค่าเพิ่มในความสามารถ (เงินเดือนรายเดือน ร้อยละของเวลาใน eTMF และสัดส่วนความสามารถ) และมูลค่าเพิ่มในประสิทธิภาพ (เงินเดือนราย เดือน ร้อยละของเวลาใน eTMF และสัดส่วนประสิทธิภาพ) สูตรคำนวณสำหรับการวัดทุนมนุษย์ คือ มูลค่าเพิ่มในความสามารถและมูลค่าเพิ่มในประสิทธิภาพ โดยมีมูลค่าเท่ากับ 112,744.23 ดอลลาร์ สหรัฐ ผลการศึกษาแสดงทุนมนุยย์ในรูปแบบมูลค่าเงิน ซึ่งประกอบด้วยการลงทุนและผลประโยชน์ โดยมูลค่าส่วนใหญ่เป็นมูลค่าที่จับต้องไม่ได้ การลงทุน คือ ต้นทุนการฝึกอบรมและค่าเสียโอกาส ผลประโยชน์ที่ได้รับ คือ มูลค่าเพิ่มในความสามารถและมูลค่าเพิ่มในประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของ การพัฒนามนุษย์จากการเปรียบเทียบการลงทุนกับผลประโยชน์ มีค่าเท่ากับ 1.62 การศึกษานี้มีส่วนสนับสนุนองค์กรกรณีศึกษา อุตสาหกรรมยา และด้านวิชาการ โดยเสนอ แนวทางในการเพิ่มทุนมนุษย์ และวัดทุนมนุษย์ในระบบการจัดการเนื้อหาขององค์กรในรูปแบบมูลค่า เงิน การศึกษานี้ระบุปัญหาและเสนอแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพใน eTMF ในกรณีที่คน เป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาองค์กร และเสนอวิธีการวัดและประเมินการฝึกอบรมและการพัฒนาทุน มนุษย์ในรูปแบบมูลค่าเงิน ซึ่งองค์กรที่ใช้ระบบการจัดการเนื้อหาสามารถประยุกต์ใช้แนวทางการ พัฒนาทุนมนุษข์และการวัดทุนมนุษย์ของการศึกษานี้ได้en_US
Appears in Collections:CAMT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
592152002 อรยา วิศวไพศาล.pdf4.36 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.