Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74240
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อัครพล นิมมลรัตน์ | - |
dc.contributor.advisor | อติชาต หาญชาญชัย | - |
dc.contributor.author | ทัศนีวัลย์ จันทะกูล | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-10-15T09:16:07Z | - |
dc.date.available | 2022-10-15T09:16:07Z | - |
dc.date.issued | 2564-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74240 | - |
dc.description.abstract | A qualitative study on the development of a knowledge model for promoting waste separation intentions among university student leaders is being conducted. The goals of this research are as follows: 1. to investigate the pattern and process of waste management and waste separation at Chiang Mai University. 2. to research the key knowledge that promotes the intention of Chiang Mai University students' leadership in waste separation. 3. to create a knowledge model for promoting waste separation student leaders' intentions in the university. This study's population consisted of 47 Chiang Mai University student leaders. It was a study based on the knowledge management concept and the Theory of Planned Behavior: TPB, a social psychology theory, combined with the waste management concept and the 3R principles. The research employs a five-step Knowledge Engineering procedure. Questionnaires, semi-structured interviews, and statistical analysis including percentage, mean, and standard deviation were used to collect data. According to the framework of the three-factor plan behavior theory, it was discovered in this study that the important knowledge issues in promoting the intention of separating waste of student leaders have details of the important topics of knowledge for each factor as follows: 1. Waste separation intention was influenced by three factors: knowledge of the importance and benefits of waste separation, knowledge of the impact on resources and the environment, and knowledge of consciousness and responsibility for waste separation. 2. Subjective Norms on the intention of separating waste included five groups: family, friends, professors, Chiang Mai University (organizations / institutions), and media, as well as famous people such as celebrities, actors, singers. 3. Factors of perception of ability to control behavior toward waste separation intention were divided into two factors: issues of waste separation self-efficacy; and knowledge of Chiang Mai University's resource factors that facilitate or support their waste separation. The researcher used such knowledge issues to create a knowledge model and tested it on the population. The findings revealed that the mean of attitude factors toward waste separation intention increased and reached the highest level. The factors of subjective norms to waste separation intention were lower mean and at a high level. The behavioral control cognition factor on waste sorting intention was higher mean and at a high level. According to the framework of the theory of planned behavior, the mean of the three factors at the very highest or high level influenced the waste separation intentions of student leaders and can be used to predict trends in the occurrence of waste separation behavior among student leaders at the high to highest level. The key knowledge points and developed knowledge model for promoting the intention of waste separation of university student leaders can be used to formulate knowledge management guidelines or activities to promote waste separation, leading to the goal of efficient energy and environmental development, as a result of the study's findings. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาโมเดลความรู้สำหรับส่งเสริมความตั้งใจในการคัดแยกขยะของผู้นำนักศึกษาในมหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title.alternative | A Knowledge model development to promote waste separation intention among university student leaders | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -- นักศึกษา | - |
thailis.controlvocab.thash | การคัดแยกขยะ | - |
thailis.controlvocab.thash | กิจกรรมของนักศึกษา | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาการพัฒนาโมเดลความรู้สำหรับส่งเสริมความตั้งใจในการคัดแยกขยะของผู้นำ นักศึกษาในมหาวิทยาลัย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดขมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษารูปแบบและ กระบวนการจัดการขยะและการคัดแยกขยะ ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2. เพื่อศึกษาประเด็นความรู้ สำคัญที่ส่งเสริมความตั้งใจในการคัดแยกขยะ ของผู้นำนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3. เพื่อพัฒนา โมเดลความรู้สำหรับส่งเสริมความตั้งใจในการคัดแยกขยะ ของผู้นำนักศึกษาในมหาวิทยาลัย กลุ่ม ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้นำนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 47 คน เป็นการศึกษา ภายใต้แนวคิดการจัดการความรู้ ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน ซึ่งเป็นทฤษฎีทางจิตวิทยาสังคม ประกอบ กับแนวคิดการจัดการขยะด้วยหลัก 3R โดยการวิจัยใช้กระบวนการวิศวกรรมความรู้ (Knowledge Engincering) 5 ขั้นตอน และเครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม การสัมภาษณ์แบบ กึ่งโครงสร้าง และการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบื่ยงเบนมาตรฐาน การวิจัยครั้งนี้ พบว่า ประเด็นความรู้สำคัญที่ส่งสริมความตั้งใจในการคัดแยกขยะของผู้นำ นักศึกษา ตามกรอบทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน 3 ปัจจัย มีรายละเอียดของหัวข้อความรู้ที่สำคัญในแต่ ละปัจจัย ดังนี้ 1. ปัจจัยด้านทัศนคติต่อความตั้งใจในการคัดแยกขยะ ประกอบด้วย 3 ประเด็น คือ ความรู้ด้านความสำคัญและโยชน์ของการคัดแยกขยะ ความรู้ด้านผลกระทบต่อทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม และความรู้ด้านจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในการคัดแยกขยะ 2.การคล้อยตาม กลุ่มอ้างอิงต่อความตั้งใจในการคัดแยกขยะ ประกอบด้วย 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มครอบครัว เพื่อน อาจารย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่(องค์กร สถาบัน) และสื่อมวลชน บุคลผู้มีชื่อเสียง เช่น ดารา นักแสดง นักร้อง 3.ปัจจัยการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมต่อความตั้งใจในการคัดแยกขยะ ประกอบด้วย 3 ประเด็น ได้แก่ ประเด็นเกี่ยวกับการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อการคัดแยกขยะ และประเด็น ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยด้านทรัพยากรของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่เอื้อหรือสนับสนุนต่อการคัดแยกขยะ ขยะของตน ผู้วิจัยได้นำประเด็นความรู้ดังกล่าวไปพัฒนาเป็น โมเดลความรู้ และนำไปทดสอบกับกลุ่ม ประชากร ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยของปัจจัยด้านทัศนคติต่อความตั้งใจในการคัดแยกขยะเพิ่มขึ้น ในระดับมากที่สุด ปัจจัยด้านการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงต่อความตั้งใจในการคัดแยกขยะ มีค่าเฉลี่ย ลคลง ในระดับมาก และปัจจัยด้านการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมต่อความตั้งใจใน การคัดแยกขยะ มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ในระดับมาก ซึ่งตามกรอบของทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน ค่าเฉลี่ย ของทั้ง 3 ปัจจัยที่อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด จะส่งผลหรือมีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการคัดแยกขยะ ของผู้นำนักศึกษาและสามารถทำนายถึงแนวโน้มของการเกิดพฤติกรรมการคัดแยกขยะของผู้นำ นักศึกษา ในระดับมากถึงมากที่สุด จากผลการศึกษาประเด็นความรู้สำคัญและพัฒนาเป็นโมเคล ความรู้สำหรับส่งเสริมความตั้งใจในการกัดแซกขยะของผู้นำนักศึกษาในมหาวิทยาลัย สามารถ นำไปใช้ในการกำหนดแนวทางการจัดการความรู้หรือกิจกรรมสำหรับส่งเสริมการคัดแยกขยะของ นักศึกษาในมหาวิทยาลัยและนำไปสู่เป้าหมายของการพัฒนาด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมได้อย่างมี ประสิทธิภาพต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | CAMT: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
592131001 ทัศนีวัลย์ จันทะกูล.pdf | 4.81 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.