Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74222
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รังสิมา วิวัฒน์วงศ์วนา | - |
dc.contributor.advisor | ประสิทธิ์ ลีปรีชา | - |
dc.contributor.author | พนาพันธุ์ พลศร | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-10-15T08:18:34Z | - |
dc.date.available | 2022-10-15T08:18:34Z | - |
dc.date.issued | 2564-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74222 | - |
dc.description.abstract | This study aimed to examine management of tourist attractions in Chompu Nuea Community, along with readiness of sustainable ecotourism management of the community. This study was qualitative, semi-structured research that allows additional details. The method was interview, allowing the interviewee to answer the question or discuss the issue in depth. The sample group consisted of 18 members, 11 were male and 7 were female. The average age of the sample group was 42.22 years, with most aged between 46-50 years. Most were married and lived with their families. Eight of the sample group members had a bachelor's degree. Most worked as farmers and were native to the area with between 31 -40 years of residence. Social and political participation was mostly very high. The study found that readiness of tourism management of the community, in each aspect, was: Regarding area, most of the sample group stated that area readiness was good, with high diversity, attractiveness and abundance of unique resources and rare wildlife. Three rated the area as average, as in "decent' and only one commented that the area was poor, as in having nothing. Regarding activity and process, most of the sample group stated that activity and process was good, as the community had diverse activities to educate the tourists about value of the forest. Four gave a moderate rating to the readiness, and four gave poor rating as experienced and good guides were lacking, and there was lack of correct tourism activity management. Regarding management, most of the sample group gave good rating, as there were meetings, rules and regulations. Some of the sample group gave poor rating because the community did not have understanding about ecotourism, and there was demonstration of hunting. Only a few members gave moderate rating, as the community had tourism management and waste management. Regarding participation, most of the sample group gave good rating as everyone was allowed to voice their opinions, and there were regular meetings as the locals were needed to cooperate, thus resulting in a strong community. A few members stated that participation was average as only some villagers showed up for assistance. Only one stated that participation was bad, as there were local conflicts in many aspects. Suggestions from this study were that lecturing and building of good attitude, correct knowledge about wildlife preservation, and usage of biological diversity for ecotourism in the community should be done, by intense practical lecturing, bringing tourism and government to the community to concretely develop ecotourism. The community should apply technology to present notable biological diversity in their advertisement to develop local ecotourism. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาชุมชนชมพูเหนือ จังหวัดพิษณุโลก | en_US |
dc.title.alternative | Ecotourism sustainable management: a case study of Chomphu Nuea community, Phisanulok Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | - |
thailis.controlvocab.thash | ชุมชนชมพูเหนือ (พิษณุโลก) | - |
thailis.controlvocab.thash | การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- พิษณุโลก | - |
thailis.controlvocab.thash | การท่องเที่ยวโดยชุมชน -- พิษณุโลก | - |
thailis.controlvocab.thash | การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน -- พิษณุโลก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาในครั้งนี้ เพื่อศึกษาการจัดการแหล่งท่องเที่ยวของชุมชนชมพูเหนือและศึกษา ความพร้อมการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืนของชุมชนชมพูเหนือ การศึกษานี้เป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ แบบ Semi-structured กึ่งโครงสร้าง มีประโยชน์ในการเปิดโอกาสให้มีรายละเอียด เพิ่มเติมได้ ใช้วิธีการวิจัยคือ การสัมภาษณ์ ให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ได้มีโอกาสในการตอบคำถามหรือได้ อภิปรายหัวข้อในเชิงลึก จากกลุ่มตัวอย่าง 18 คน แบ่งออกเป็นเพศชาย 11 คน และเป็นเป็นเพศหญิง 7 คน มีอายุเฉลี่ยเท่ากับ 42.22 ปี โดยส่วนใหญ่จะมีช่วงอายุระหว่าง 46-50 ปี มีสถานภาพสมรสแล้ว และอาศัยอยู่กับครอบครัว จบการศึกษาในระดับชั้นปริญญา จำนวน 8 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกร และในปัจจุบันส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในพื้นที่มาต้องแต่กำเนิด โดยมีระยะเวลาในการอยู่อาศัย ในพื้นที่ ช่วงเวลา 31-40 ปี มีระดับการมีส่วนร่วมทางสังคมและการเมืองส่วนใหญ่ในระดับ มาก ที่สุด ผลการศึกษาพบว่า ความพร้อมในการจัดการท่องเหี่ยวของชุมชนชมพูเหนือแต่ละด้าน คือ ด้านพื้นที่ กลุ่มตัวอย่างเกือบทั้งหมดกล่าวว่า ความพร้อมด้านพื้นที่อยู่ในระดับดี คือ พื้นที่มี ความหลากหลาย สวยงาม น่าสนใจ เป็นพื้นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นเอกลักษณ์ มีสัตว์ป่าหา ยาก มีความพร้อมด้านพื้นที่อยู่ในระดับปานกลางสามคน คือ พื้นที่ก็สวยใช้ได้ และมีเพียงหนึ่งคนที่ กล่าวว่าความพร้อมด้านพื้นที่อยู่ในระดับแย่ คือ ไม่มีอะไรเลยพื้นที่ไม่มีอะไรเลย ด้านกิจกรรมและกระบวนการ กลุ่มตัวอย่างส่วนมาก กล่าวว่า ความพร้อมด้านกิจกรรมและ กระบวนการอยู่ในระดับดี คือ ชุมชนมีกิจกรรมพร้อมให้ความรู้กับนักท่องเที่ยว มีกิจกรรมที่ หลากหลายที่ทำให้เห็นคุณค่าของป้า มีกลุ่มตัวอย่างสี่คนที่กล่าวว่าความพร้อมด้านด้านกิจกรรม และกระบวนการอยู่ในระดับปานกลาง เท่ากับความพร้อมด้านด้านกิจกรรมและกระบวนการอยู่ใน ระดับแย่ คือ ยังขาดการนำเสนอที่ ยังขาดมัคคุเทศกที่มีประสบการณ์และมีคุณภาพ และยังขาดการ จัดกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ถูกต้อง ด้านการจัดการ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่กล่าวว่า ความพร้อมด้านการจัดการอยู่ในระดับดี คือ มีการจัดการที่ดี คือ มีการประชุม มีกฎระเบียบเกี่ยวกับการท่องเที่ยว มีกลุ่มตัวอย่างบางส่วน กล่าว ว่า ความพร้อมด้านการจัดการอยู่ในระดับแย่ คือ ชุมชนยังขาดความรู้ขาดความเข้าใจรูปแบบการ จัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มีการสาธิตการล่าสัตว์ มีส่วนน้อยที่กล่าวว่าความพร้อมด้านการจัดการอยู่ ในระดับปานกลาง คือ ชุมชนก็มีการจัดการท่องเที่ยว ชุมชนก็มีการจัดการขยะ ด้านการมีส่วนร่วม กลุ่มตัวอย่างเกือบทั้งหมดกล่าวว่า ความพร้อมค้านการมีส่วนร่วมอยู่ใน ระดับดี คือ เปิดโอกาสให้คนในชุมชนทุกคนได้เสนอความคิด มีการประชุมตลอดเพราะต้องให้ชาว ร่วมกันคิด ร่วมมือกัน ชุมชนเขาเข้มแข็งมาก มีกลุ่มตัวอย่างส่วนน้อย กล่าวว่า ความพร้อมด้านการ มีส่วนร่วนอยู่ในระดับปานกลาง คือ เรื่องท่องเที่ยวชาวบ้านก็มาช่วยบ้าง และมีเพียงคนเดียวที่กล่าว ว่า ความพร้อมด้านการมีส่วนร่วมอยู่ในระดับแย่ ดือ ชมพูเองก็มีปัญหาความขัดแย้งของชุมชน ภายในท้องถิ่นในหลาย ๆ ด้าน ข้อเสนอแนะจากการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ควรมีการให้ความรู้และสร้างทัศนะคติที่ดี ความรู้ ที่ถูกต้องต่อการอนุรักษ์สัตว์ป่า การใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อการท่องเที่ยว เชิงนิเวศให้กับชุมชน โดยการจัดอบรมปฏิบัติการอย่างเข้มข้นถึงนำท่องเที่ยวและรัฐบาลความ ร่วมมือกับชุมชนเพื่อการพัฒนาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศให้เป็นรูปธรรม และสามารถเกิดขึ้น จริงในอนาคต กับชุมชนควรนำเทคโนโลยีมาใช้ในการนำเสนอความหลากหลายทางชีวภาพที่มี ความน่าสนใจในพื้นที่ ในการประชาสัมพันธ์เพื่อการพัฒนาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590432022 พนาพันธุ์ พลศร.pdf | 1.37 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.