Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74213
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิพย์รัตน์ นพฤทธิ์-
dc.contributor.authorภาณุมาส จันทร์หอมen_US
dc.date.accessioned2022-10-15T08:03:23Z-
dc.date.available2022-10-15T08:03:23Z-
dc.date.issued2564-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74213-
dc.description.abstractThe purposes of this research study were 1) to study learning provisions using games to promote number senses of grade 8 students and 2) to study number senses of grade 8 students who study through learning provisions using games. The target group was 16 of grade 8 students at Thai Rath Witthaya 79 (Ban Nong Aab Chang) school, Chom Thong District, Chiang Mai Province in the second semester of the academic year 2018. The instruments used in this rescarch were as follow: 1) game-based lesson plans which promote number senses, 2) activity sheets for measuring number senses of students during learning, 3) post-teaching record forms, 4) a number sense test which assesses all 5 components including 1) having well-understood of both cardinal and ordinal number meanings, 2) understanding the relative magnitudes of numbers, 3) developing intuitions about the relative effect of operating on numbers, 4) flexible mental computation and 5) estimation. The data were analyzed by percentage, mean and content analysis. The result showed that 1) learning provisions using games to promote the number senses should use games that familiar to students but adjust rules or add some conditions to promote each component of number senses. For starting the lesson, using games based on real life situation in order to let students understand that number senses can help them to solve problems easily, During playing games, students should discuss and exchange knowledge and give reasonable answer to support their understandings. 2) The results of the number sense of students who learn through learning provisions using games in each component comparing between mean score from activity sheets during learning and that of from the test showed as follow: for having well-understood of both cardinal and ordinal number meanings, the score was increased 44.52 precents, for understanding the relative magnitudes of numbers, the score was increased 15.48 precents, for developing intuitions about the relative effect of operating on numbers, the score was increased 8.25 precents, for flexible mental computation, the score was decreased 16.37 precents and for estimation, the score was decreased 2.56 precents. Thus, from the learning provisions using games to promote number senses of students, it was found that the students had developed 3 aspects and decreased 2 aspects of number senses.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกม เพื่อส่งเสริมความรู้สึกเชิงจำนวนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2en_US
dc.title.alternativeLearning provision using games to promote number senses of Grade 8 studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนไทยรัฐวิทยา-
thailis.controlvocab.thashคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashจำนวนเลข-
thailis.controlvocab.thashเกม-
thailis.controlvocab.thashกิจกรรมการเรียนการสอน-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาขั้นมัธยม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกม เพื่อส่งเสริม ความรู้สึกเชิงจำนวนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 2) ศึกษาความรู้สึกเชิงจำนวนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกม กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 16 คน โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๙ (บ้านหนองอาบช้าง) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกม ที่ส่งเสริมความรู้สึกเชิงจำนวน 4 แผน 2) ใบกิจกรรมเพื่อวัดความรู้สึก เชิงจำนวนของนักเรียนระหว่างเรียน 3) แบบบันทึกหลังการสอน 4 แบบวัดความรู้สึกเชิงจำนวน โดยจะประเมินความรู้สึกเชิงจำนวนของนักเรียนทั้งหมด 5 ด้าน ได้แก่ 1) ความเข้าใจจำนวนทั้ง จำนวนเชิงการนับและจำนวนเชิงอันดับ 2) ความเข้าใจความสัมพัทธ์ของจำนวน 3) การรู้ผลสัมพัทธ์ ของการดำเนินการ 4) การคิดคำนวณในใจอย่างยืดหยุ่น 5) การประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้ ค่าเฉลี่ย การหาร้อยละของความก้าวหน้า และวิเคราะห์การเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกม ที่สามารถส่งเสริมความรู้สึกเชิง จำนวนของนักเรียนได้นั้น สามารถใช้เกมที่นักเรียนคุ้นเคยหรือเคยเล่นมาแล้ว แต่นำมาปรับปรุงกติกา ใหม่หรือเพิ่มเติมเงื่อนไขใหม่ที่สอดคล้องกับความรู้สึกเชิงจำนวนแต่ละตัว และในการจัดการเรียนรู้ นั้นควรเริ่มต้นผ่านสถานการณ์ที่สอดกล้อง กับในชีวิตประจำวันเพื่อให้นักเรียนเห็นความสำคัญของ การใช้ความรู้สึกเชิงจำนวนในการช่วยแก้ปัญหา และในระหว่างเล่นเกมควรเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ อภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้เหตุผลที่สมเหตุสมผล และ 2) จากผลการวิจัยจะเห็นได้ว่า ความรู้สึกเชิงจำนวนของนักเรียน ที่เรียน โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกม ซึ่งเปรียบทียบ ความก้าวหน้าระหว่างเรียน และหลังจากการทดสอบด้วยแบบวัดความรู้สึกเชิงจำนวน พบว่า ด้านที่ 1 ความเข้าใจจำนวนทั้งจำนวนเชิงการนับ และจำนวนเชิงอันดับที่ พบว่าร้อยละของความก้าวหน้า เพิ่มขึ้น 44.52 ด้านที่ 2 ความเข้าใจขนาดสัมพัทธ์ของจำนวน พบว่าร้อยละของความก้าวหน้าเพิ่มขึ้น 15.48 ด้านที่ 3 การรู้ผลสัมพัทธ์ของการดำเนินการ พบว่าร้อยละของความก้าวหน้าเพิ่มขึ้น 8.25 ด้านที่ 4 การคิดคำนวณในใจอย่างยืดหยุ่น พบว่าร้อยละของความก้าวหน้าลดลง 16.37 ด้านที่ 5 การประมาณ ค่า พบว่าร้อยละของความก้าวหน้าลดลง 2.56 จากการวิจัยพบว่าความรู้สึกเชิงจำนวนของนักเรียน ที่เรียน โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้เกม เพิ่มขึ้น 3 ด้าน และลดลง 2 ด้านen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590231018 ภาณุมาส จันทร์หอม.pdf4.02 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.