Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74210
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorแสงเดือน ยอดอัญมณีวงศ์-
dc.contributor.authorภิญญา ประเสริฐสมen_US
dc.date.accessioned2022-10-15T07:57:56Z-
dc.date.available2022-10-15T07:57:56Z-
dc.date.issued2564-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74210-
dc.description.abstractThis is qualitative research case study method. The aims to study conditions and impacts of burnout in child protective service workers. The purposive sampling has been used in this study. Key Informants were 5 high burnout score child protective services workers in public and private child welfare organizations and experiencing working with abused children more than 1 year. Data were collected by in-depth interviews and participant observation. Triangulation was used as a validation through content and context analysis. The results revealed that the conditions of burnout in child protective service workers were 1) Personal conditions including personality, attitude, education, work experiences, and family 2) Work conditions including workplace, job functions about working for helping child abuse, workload and high responsibility, and conflict of roles, personal relationship, and organizational system that system and manager unsupported, lack of career advancement and low pay, and lack of crew front line and miss encourage staff. As mentioned above, these conditions were able to lead children protective service workers to a lack work satisfaction and motivation. Burnout in child protective service workers will affected 1) the physical and mental health and behaviors of workers who helped abused children as they risk to depression and were experiencing compassion fatigue. 2) abused children might receiving lower quality of services, and colleagues and family members were experiencing relationship problems with workers. 3) organizations received lower quality work and losing efficient worker.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectภาวะหมดไฟen_US
dc.titleเงื่อนไขและผลกระทบของภาวะหมดไฟในผู้ให้การช่วยเหลือเด็กถูกทารุณกรรมen_US
dc.title.alternativeConditions and impacts of burnout in child protective service workersen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการทำงาน -- แง่จิตวิทยา-
thailis.controlvocab.thashความเหนื่อยหน่าย (จิตวิทยา)-
thailis.controlvocab.thashการสงเคราะห์เด็ก-
thailis.controlvocab.thashการทารุณเด็ก-
thailis.controlvocab.thashเด็กที่ถูกทารุณ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา เพื่อศึกษาเงื่อนไขและผลกระทบจากภาวะหมดไฟของผู้ให้การช่วยเหลือเด็กถูกทารุณกรรม โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เป็นผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 5 คน ได้แก่ เจ้าหน้าที่หน่วยงานสังคมสงเคราะห์รัฐบาลและเอกชนที่มีภาวะหมดไฟสูง มีประสบการณ์ทำงานช่วยเหลือเด็กถูกทรุณกรรมมากกว่า 1 ปี เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ เชิงลึก ตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและบริบท จากการศึกษาพบเงื่อนไขที่ก่อภาวะหมดไฟในผู้ให้การช่วยเหลือเด็ก คือ 1) เงื่อนไขส่วนบุคคล จาก บุคลิกภาพ เจตคติ การศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และครอบครัว 2) เงื่อนไขแวดล้อมในการทำงาน จาก สถานที่ทำงานไม่เหมาะสม ลักษณะงานที่รับผิดชอบเป็นการช่วยเหลือเด็กถูกทารุณกรรม ปริมาณงานมาก เกินและรับผิดชอบสูง และบทบาททับซ้อน สัมพันธภาพระหว่างบุคคล และระบบการบริหารองค์กร จาก ระบบบริหารและผู้บริหารไม่สนับสนุนการทำงาน ไม่มีความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน และค่าตอบแทนน้อย และบุคลากรไม่เพียงพอและขาดการดูแลจิตใจบุคลากร จากเงื่อนไขดังกล่าวข้างต้น มีส่วนทำให้ผู้ให้การช่วยเหลือเด็กที่ทำงานใกล้ชิดเด็กถูกทารุณกรรม ขาดความพึงพอใจและขาดแรงจูงใจ ในการทำงาน ภาวะหมดไฟในผู้ให้การช่วยเหลือเด็กมีจะผลกระทบต่อ 1) ผู้ให้การช่วยเหลือเด็กในด้านสุขภาพ ร่างกาย สุขภาพจิต และ พฤติกรรม ซึ่งเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า และความเหนื่อยล้าในการเห็นอก เห็นใจ 2) ผู้เกี่ยวข้อง คุณภาพการให้บริการเด็กลดลง มีปัญหาความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน และครอบครัวมีปัญหาสัมพันธภาพ 3) องค์กรได้คุณภาพงานลดลงและเสียบุคลากรที่มีคุณภาพไปen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590132054 ภิญญา ประเสริฐสม.pdf2.17 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.