Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74209
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนพรรณ กุลจันทร์-
dc.contributor.authorกันยกานต์ ปัญญายืนen_US
dc.date.accessioned2022-10-15T07:54:57Z-
dc.date.available2022-10-15T07:54:57Z-
dc.date.issued2564-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74209-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study the library value of Rajamangala University of Technology Lanna. This research was a survey research. The population includes 1 ) the director of the office of academic resources and information technology, collecting data used a semi-structured interview 2) library users, including faculties and undergraduate students. The data were collected from questionnaires distributed to 302 faculties. There were 11 2 questionnaires returned from faculties (37.09%) and 393 retured from undergraduate students (100%). The data were analyzed by frequency, percentage, mean, and standard deviation. The result of the study, Implicit Value, was found to be valuable from the statistical analysis of electronic database usage of Rajamangala University of Technology Lanna, fiscal year 2018-2020 by comparing electronic databases with number of searches. The top three most and the final, it was found that the number of searches was the same for all three fiscal years. The database with the most searches was the IEE/IEL Electronic Library (IEL) database and the last was Emerald Management database. The results of a statistical study on borrowing of information resources in fiscal year 2020 by comparing the number of books borrowed with the number of books available in the library. In descending order, it was found that the libraries in Tak area had books borrowed 14.90%, Chiang Rai 9.05%, Chiang Mai 8.81%, Phitsanulok 5.54%, Lampang 4.44%, and Nan area 0.84 %. Explicit Value was found that the purpose of accessing the library for the majority of faculties was for teaching (41.9%), for students, for research (29%). Libraries are important in It is a valuable resource collection (25.2%), Being a place for useful leisure activities (25.3%). In the past two years, 19.6% of faculties have received awards or commendations for their projects, research or teaching- related awards. Such recognition was moderate (x̄ = 3.27) for students to receive awards or commendation in class. 12.5% of the students were of the opinion that the library contributed to such awards or recognition to a large extent (x̄= 3.88). As for the satisfaction of information resources of the group of faculties as a whole, their satisfaction was at a high level (x̄= 3.77) and extending the body of knowledge. There was a high level of satisfaction (x̄= 3.92) for the students as a whole. They were satisfied at a high level (x̄= 4.05). The aspect that received the highest average was that the information resources contained credible and up-to-date content with a high level of satisfaction (x̄= 4.08). The satisfaction level was at a high level (faculties x̄ = 3.74 and students x̄= 4.02). The aspect that received the highest average was basic library services (faculties x̄= 4.10 and students x̄=4.12). The finding founds that library value in teaching aspects were in high level, the element with highest level was better preparation for teaching (x̄ = 4.00). The rescarch aspects were in high level, the elements with highest level were helping to get quality research (x̄= 3.88), and raising the ability of writing references or bibliographies correctly (x̄ = 3.88). In addition to leamning aspects were in high level, the element with highest level was helping students to understand the lesson and saving the cost of accessing information resources (x̄ = 4.10).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleคุณค่าห้องสมุดของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาen_US
dc.title.alternativeLibrary value of Rajamangala University of Technology Lannaen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา -- ห้องสมุด-
thailis.controlvocab.thashห้องสมุด -- การบริหาร-
thailis.controlvocab.thashห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาขั้นอุดมศึกษา -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณค่าห้องสมุดของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา ใน 3 ส่วน คือ คุณค่าโดยนัย คุณค่าที่แสดงออกชัดเจน และคุณค่าที่ได้รับ โดยใช้วิธีวิจัยเชิง สำรวจ ประชากร คือ 1) ผู้บริหาร ได้แก่ ผู้อำนวยการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 1 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง และ 2) ผู้ใช้บริการห้องสมุด แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ อาจารย์ประจำ และนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา กำหนด กลุ่มตัวอย่างเป็นอาจารย์จำนวน 302 กน และนักศึกษาจำนวน 393 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ได้รับตอบกลับจากกลุ่มอาจารย์ จำนวน 112 ชุด (ร้อยละ 37.09) และ กลุ่มนักศึกษา จำนวน 393 ชุด (ร้อยละ 100) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการศึกษา คุณค่าโดยนัย (Implicit Value) พบว่า มีคุณค่า จากการวิเคราะห์สถิติการใช้งาน ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2563 โดยการเปรียบเทียบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่มีจำนวนการสืบค้นมากที่สุดสามอันดับแรก และ อันดับสุดท้าย พบว่าจำนวนการสืบค้นเหมือนกันทั้งสามปีงบประมาณ โดยฐานข้อมูลที่มีการสืบค้น มากที่สุดเป็นอันดับแรก คือ ฐานข้อมูล IEE/EL Electronic Library (IEL) และอันดับสุดท้าย คือ ฐานข้อมูล Emerald Management ผลการศึกษาสถิติการยืมทรัพยากรสารสนเทศในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยเปรียบเทียบจำนวนหนังสือที่ถูกยืมกับจำนวนหนังสือที่มีในห้องสมุด เรียงตามลำดับจาก มากไปน้อย พบว่า ห้องสมุดในเขตพื้นที่ตากมีหนังสือที่ถูกยืม ร้อยละ 14.90 เขตพื้นที่เชียงราย ร้อยละ 9.05 เขตพื้นที่เชียงใหม่ ร้อยละ 8.81 เขตพื้นที่พิษณุโลก ร้อยละ 5.54 เขตพื้นที่ลำปาง ร้อยละ 4.44 และเขตพื้นที่น่าน ร้อยละ 0.84 คุณค่าที่แสดงออกโดยชัดเจน (Explicit Value) พบว่า วัตถุประสงค์ในการเข้าใช้ห้องสมุด ของกลุ่มอาจารย์ส่วนใหญ่ คือ เพื่อการสอน (ร้อยละ 41.9) สำหรับนักศึกษา คือ เพื่อการค้นคว้าวิจัย (ร้อยละ 29) โดยอาจารย์ส่วนใหญ่เห็นว่า ห้องสมุดมีความสำคัญในเรื่อง เป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากร สารสนเทศที่มีคุณค่า (ร้อยละ 25.2) สำหรับนักศึกษาเห็นว่าห้องสมุดมีความสำคัญในเรื่อง การเป็น สถานที่สำหรับทำกิจกรรมว่างให้เกิดประโยชน์ (ร้อยละ 25.3) ทั้งนี้ในระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา มี อาจารย์ได้รับรางวัลหรือการยกย่องในการทำโครงงาน งานวิจัย หรือรางวัลเกี่ยวกับการเรียนการสอน ร้อยละ 19.6 โดยอาจารย์มีความเห็นว่าห้องสมุดมีส่วนช่วยให้ได้รับรางวัลหรือการยกย่องดังกล่าวใน ระดับปานกลาง (x̄ = 3.27) สำหรับนักศึกษาได้รับรางวัลหรือการยกย่องในชั้นเรียน คิดเป็นร้อยละ 12.5 โดยนักศึกษามีความเห็นว่าห้องสมุดมีส่วนช่วยให้ได้รับรางวัลหรือการยกย่องคังกล่าวในระดับ มาก (x̄ = 3.88) ในส่วนของความพึงพอใจค้นทรัพยากรสารสนเทศของกลุ่มอาจารย์ ในภาพรวม มี ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (x̄ = 3.77) ด้านที่ได้ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ทรัพยากรสารสนเทศทำให้ สามารถเกิดเรียนรู้ด้วยตนเอง และต่อยอดองค์ความรู้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (x̄ = 3.92) สำหรับนักศึกษาในภาพรวม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (x̄= 4.05) ด้านที่ได้ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ทรัพยากรสารสนเทศมีเนื้อหาที่น่าเชื่อถือ และทันสมัย มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.08) ใน ส่วนของความพึงพอใจของกลุ่มอาจารข์ และนักศึกษา ในด้านบริการของห้องสมุด พบว่า ในภาพรวม ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (อาจารย์ x̄ = 3.74 และนักศึกษา x̄ = 4.02) ด้านที่ได้ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ บริการพื้นฐานในห้องสมุด (อาจารย์ x̄ = 4.10 และนักศึกษา x̄ = 4.12) คุณค่าที่ได้รับ (Derived Values) ตามความเห็นของอาจารย์ ด้านการสอน ในภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก (x̄-= 3.88) ค้านที่ได้ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ สามารถช่วยในการเตรียมการสอนได้ดีขึ้น (x̄= 4.00) ด้านการวิจัยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄-= 3.68) ค้านที่ได้ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ช่วยส่งเสริมให้ได้ งานวิจัยที่มีคุณภาพ (x̄ - 3.88) และสามารถเขียนอ้างอิงหรือบรรณานุกรมได้ถูกต้อง (x̄ = 3.88) สำหรับคุณค่าห้องสมุด ตามความเห็นของนักศึกษา ด้านการเรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.02) ด้านที่ได้ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ช่วยให้เข้าใจเนื้อหาในบทเรียนเพิ่มมากขึ้น และช่วยประหยัด ค่าใช้จ่ายในการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศ และแหล่งข้อมูล (x̄ = 4.10)en_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590132018 กันยกานต์ ปัญญายืน.pdf4.15 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.