Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74159
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Songsak Sriboonchitta | - |
dc.contributor.advisor | Jianxu Liu | - |
dc.contributor.advisor | Pairach Piboonrungroj | - |
dc.contributor.author | Yuting Xue | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-28T10:13:08Z | - |
dc.date.available | 2022-09-28T10:13:08Z | - |
dc.date.issued | 2022-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74159 | - |
dc.description.abstract | Nowadays, there are increasing concerns over global warming and climate change around the world. Under this circumstance, we ought to attach great importance to protecting the environment where we live while promoting economic development. Tourism, as an essential part of developing the economy of China, affects the environment and natural resources dramatically in the course of creating economic benefits. Thus, tourism should be expanded with due consideration of the overall sustainable development with a balance in both economic benefit and environmental benefit. In such a context, the purpose of this thesis is to investigate how to achieve sustainable growth in China's tourism industry from perspectives of both “positive effects” and “negative effects”. First and foremost, this thesis selects one of the most popular beneficial influences of tourism, that is, the quality of life (QoL) from a “positive effects” research perspective, to analyze the linkage between tourism demand (TD) and residents’ QoL. It employs data from the top three tourism source markets in terms of the volume of foreign visitors traveling around China for analysis by the Copula-based Seemingly Unrelated Regressions (SUR) model. Then, this thesis chooses tourism-related carbon dioxide (CO2) emissions to represent the “negative effects” of tourism. To see how far the negative effects can be possibly lessened, this thesis uses data from 30 provinces for analysis by the Two-tier Stochastic Frontier (TSF) model to study how much potential space that both parties -tourism companies and local governments - can use to reduce the emission of tourism-related CO2. Eventually, this thesis proposes using an innovative method called the Multi-tier Stochastic Frontier (MSF) model to combine the “positive effects” with “negative effects”, in an attempt to figure out how to balance the economic benefits and the environmental pollution from tourism development in China. The main conclusions of this thesis are divided into three parts. Firstly, the TD investigation reveals that not all TD from various source countries positively affected residents' QoL. Furthermore, our results from this investigation confirm that the Copula-based SUR model is more efficient than the traditional SUR model. Secondly, the empirical results of the TSF model indicate that the actual tourism CO2 exceeds the emission limit compared with the expected emissions under a perfect information situation. As for the tourism CO2 difference between the idealized state and the actual state, compared to local governments, the surplus of tourism CO2 available saving space extracted by tourism companies is much bigger. Besides, the empirical results are significantly different across provinces, years, and characteristics. Finally, the empirical results of the MSF model demonstrate that without the intervention of the local governments, the tourism-related CO2 emissions will not be limited and the TD will decrease; if a target is set only for promoting tourism development, the tourism-related CO2 emissions will rise as tourism grows. To achieve the balance between the TD and the emissions of tourism-related CO2, government intervention is a solution because the tourism-related CO2 emissions will likely be controlled within a reasonable range while promoting tourism development. As local governments can play an essential role in not only promoting the development of tourism but also reducing the CO2 emissions from tourism, their issuance of adequate policies to enhance tourism energy efficiency is the most significant way to balance the relationship between tourism blooming and environmental protection. To summarize based on the empirical results, this thesis proposes policy recommendations for tourism sustainable development in China from three aspects: the impacts of different TD on Chinese citizens’ QoL, the role of tourism companies and governments in emission reduction of tourism-related CO2 under the imperfect information situation, and the role of local governments in determining the strategies for the coordinated development between the tourism industry and environmental protection. | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | A Quantitative analysis of quality of life and co2 emission in the context of sustainable tourism development in China | en_US |
dc.title.alternative | การวิเคราะห์เชิงปริมาณของคุณภาพชีวิตและการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบริบทของการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ของสาธารณรัฐประชาชนจีน | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | China -- Description and travel | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Sustainable tourism -- China | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Quality of life -- China | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Carbon dioxide -- China | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ทุกวันนี้ทั่วโลกมีความกังวลมากขึ้นถึงภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภายใต้สถานการณ์เช่นนี้ เราควรให้ความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพิทักษ์ปกป้องสิ่งแวดล้อมที่เราอยู่อาศัย ในขณะที่ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจไปพร้อมกัน อย่างไรก็ตาม การท่องเที่ยวซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของจีน ได้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติเป็นอย่างมากระหว่างที่ภาคส่วนนี้สร้างผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ดังนั้น การท่องเที่ยวควรขยายตัวโดยคำนึงถึงการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยรวม ให้เกิดความสมดุลกันระหว่างประโยชน์ทางเศรษฐกิจและประโยชน์ทางสิ่งแวดล้อม ด้วยบริบทดังกล่าว จุดประสงค์ของวิทยานิพนธ์นี้คือเพื่อศึกษาการเติบโตอย่างยั่งยืนในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของจีนโดยคำนึงถึง “ผลกระทบเชิงบวก” และ “ผลกระทบเชิงลบ” ประการแรกและสำคัญที่สุด วิทยานิพนธ์นี้ได้เลือกหนึ่งในอิทธิพลที่เป็นประโยชน์ของการท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมากที่สุด นั่นคือคุณภาพชีวิต (quality of life: QoL) ซึ่งเป็นหนึ่งในผลกระทบเชิงบวกเพื่อวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างอุปสงค์การท่องเที่ยว (TD) กับคุณภาพชีวิต (QoL) ของประชาชนในท้องถิ่น วิทยานิพนธ์นี้อาศัยข้อมูลทางด้านการตลาดที่เกี่ยวกับของแหล่งท่องเที่ยว 3 ข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับปริมาณนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางไปทั่วประเทศจีน โดยอาศัยแบบจำลอง Copula-based Seemingly Unrelated Regressions (SUR) วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้เลือกการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากกิจกรรมการท่องเที่ยวเพื่อแสดงถึง “ผลกระทบเชิงลบ” ของการท่องเที่ยว วิทยานิพนธ์นี้ใช้ข้อมูลจาก 30 จังหวัดของประเทศจีนโดยอาศัยแบบจำลอง Two-tier Stochastic Frontier (TSF) เพื่อศึกษาว่าช่องวางของการพัฒนาที่การปิดช่องว่างดังกล่าวเป็นไปได้จากการดำเนินการระหว่างบริษัทท่องเที่ยวและหน่วยงานภาครัฐท้องถิ่นอันนำมาซึ่งการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากกิจกรรมการท่องเที่ยว วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้เสนอวิธีการการวิเคราะห์ที่เกิดขึ้นใหม่ นั่นคือ แบบจำลอง Multi-tier Stochastic Frontier (MSF) ซึ่งได้รวม “ผลกระทบเชิงบวก” และ “ผลกระทบเชิงลบ” เพื่อหาวิธีสร้างสมดุลระหว่างผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการพัฒนาการท่องเที่ยวของจีน ข้อสรุปหลักของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ถูกแบ่งออกเป็นข้อค้นพบ 3 ประการสำคัญ ประการแรก พบว่าอุปสงค์การท่องเที่ยวจากนักท่องเที่ยวประเทศต่างๆ ไม่ได้ส่งผลกระทบเชิงบวกต่อผู้อยู่อาศัยหรือเพิ่มคุณภาพชีวิตเสมอไป นอกจากนี้ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ทำการปรับปรุงการศึกษาในเรื่องที่เกี่ยวข้องกันนี้โดยอาศัยแบบจำลอง Copula-based SUR เพื่อทำให้ผลการศึกษามีความแม่นยำมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียมกับแบบจำลอง SUR แบบทั่วไป ประการที่สอง ประการที่สอง ข้อค้นพบจากแบบจำลอง TSF ระบุว่าการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากกิจกรรมการท่องเที่ยวนั้นมีมากกว่าค่าคาดหวังของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายใต้สถานการณ์ข่าวสารสมบูรณ์ (perfect information) ซึ่งความแตกต่างระหว่างสิ่งที่เกิดขึ้นจริงกับค่าคาดหวังในอุดมคติ โดยผลกระทบด้านลบเกิดจากการดำเนินการของภาคเอกชนมากกว่าภาครัฐอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ ผลลัพธ์เชิงประจักษ์ได้แตกต่างออกไปตามจังหวัด ปี และลักษณะจำเพาะอย่างมีนัยสำคัญ ประการสุดท้าย จากผลเชิงประจักษ์ของแบบจำลอง MSF ผลลัพธ์เชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่าหากไม่มีการแทรกแซงจากรัฐบาลท้องถิ่น การปล่อยคาร์บอนไดออกไซต์ที่เกิดจากการท่องเที่ยวจะเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีขีดจำกัด และอุปสงค์การท่องเที่ยวจะลดลง ดังนั้นหากกล่าวถึงเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการพัฒนาการท่องเที่ยวแล้วนั้น การปล่อยคาร์บอนไดออกไซตค์ที่เกิดจากการท่องเที่ยวจะเพิ่มขึ้นเมื่อการท่องเที่ยวเติบโตขึ้น เพื่อให้บรรลุความสมดุลระหว่างอุปสงค์การท่องเที่ยวและการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการท่องเที่ยว การแทรกแซงของรัฐบาลจึงเป็นหนึ่งในวิธีแก้ปัญหาที่สำคัญ เนื่องจากการแทรกแซงของรัฐบาลในเรื่องการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการท่องเที่ยวจะทำให้มลพิษอยู่ช่วงของผลกระทบที่เหมาะสม การค้นพบนี้แสดงให้เห็นว่ารัฐบาลไม่เพียงแต่มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมการพัฒนาการท่องเที่ยวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการท่องเที่ยว การออกนโยบายที่เพียงพอเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานเพื่อการท่องเที่ยวเป็นวิธีที่สำคัญที่สุดในการสร้างสมดุลระหว่างความสัมพันธ์ระหว่างการเติบโตของการท่องเที่ยวกับการปกป้องสิ่งแวดล้อม สรุปผลการศึกษาเชิงประจักษ์ วิทยานิพนธ์ได้เสนอข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสำหรับการพัฒนาอย่างยั่งยืนด้านการท่องเที่ยวในประเทศจีนจากข้อค้นพบสามประก จากผลกระทบของอุปสงค์ด้านการท่องเที่ยวของชาวต่างชาติจากชาติต่างๆ ที่มีต่อคุณภาพชีวิตของชาวจีน จากบทบาทของบริษัทท่องเที่ยวและรัฐบาลในการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการท่องเที่ยวภายใต้สถานการณ์ข้อมูลไม่สมบูรณ์ และจากกลยุทธ์การพัฒนาร่วมกันระหว่างการพัฒนาการท่องเที่ยวกับการรักษาสิ่งแวดล้อม | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611655805 yuting xue.pdf | 1.19 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.