Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74149
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภราดร สุรีย์พงษ์-
dc.contributor.authorธนเสฏฐ์ กุลพัฒน์มงคลen_US
dc.date.accessioned2022-09-24T08:48:26Z-
dc.date.available2022-09-24T08:48:26Z-
dc.date.issued2022-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74149-
dc.description.abstractTo verify the authenticity of luxury bag products is to be inspected not only by in-hard inspection by product specialist, but also can be done by sending images of the product to service providers via Line Official Account channel which has increasing popularity among clients from its convenience of not having to deliver product to inspector’s hand. Although the method has its own benefits most of the users struggle with communication problems between clients and service persons from having to take photos of the product according to the image guideline which explains the process clearly but still unorganized. Sometimes the guideline creates confusion to the users that make them submit not enough photos for the inspection. The uncertainty of using the services also includes no job order priority, task que, and decline to inspector. This creates negative experiences for clients and sometimes costs more time than delivering an actual product to the inspector at the shop because of the back-and-forth communication between both parties resulting in clients refusing to use the service in the end. The study will present the redesign of the service experiences using digital transformation on design and produce new self-service technology that will help users create order and get access to service without direct contact with service staff and use less chat messenger by using fill-in the blank user interface design according to inspector’s requirement without ignoring a channel to contact back to client in case of additional information request. User roles are added to the system in order to create a level of authority between staff. This will reduce the pressure of having less confidence in identifying the product in new staff members. The inspector will only give suggestions to the result, the approver that has higher experiences will be the person to approve the result from the information and opinion provided. The result will now be delivered to the client automatically. The research result found that a group of sample clients are satisfied with overall new service experiences from 34% to 59.4% from 20 client interviews. Most of them are satisfied with the faster process from self-service process and auto result delivered without staff handling. A group of service staff are also satisfied with overall new management system experiences from 35.6% to 72.8% from 5 member’s interviews.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเทคโนโลยีบริการตนเองen_US
dc.subjectระบบช่วยตัดสินใจen_US
dc.subjectการพิสูจน์ยืนยันกระเป๋าว่าเป็นสินค้าแท้en_US
dc.subjectการปฏิวัติดิจิทัลen_US
dc.subjectกรอบงานพัฒนาส่วนหน้าโดยไลน์en_US
dc.titleเทคโนโลยีเพื่อสร้างระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการตรวจสอบ กระเป๋าของแท้ด้วยตนเองen_US
dc.title.alternativeSelf-Service technology to create a decision support system for authenticity bag verificationen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashกระเป๋า-
thailis.controlvocab.thashเครื่องใช้ส่วนตัว-
thailis.controlvocab.thashสินค้าแบรนด์เนม-
thailis.controlvocab.thashเทคโนโลยี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในกระบวนการตรวจสอบความเป็ นสินค้าแท้ของกระเป๋าที่มีราคาสูงนอกจากจะถูกทําผ่านการตรวจด้วยมือของผู้เชี่ยวชาญแล้ว การส่งตรวจด้วยภาพถ่ายผ่านช่องทางบัญชีทางการของร้านค้าของแอปพลิเคชันไลน์ (LINE) ก็เป็ นอีกช่องทางหนึ่งที่ได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นด้วย ไม่ต้องส่งสินค้าตัวจริงไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจ แต่วิธีนี้ยังคงประสบปัญหาจากการสื่อสารระหว่างลูกค้าผู้ส่งตรวจกับทีมงานผ่านการจัดทําวิธีการนําส่งข้อมูลภาพที่ทีมงานใช้ส่งให้ลูกค้าถ่ายภาพตามตัวอย่างเพื่อนําส่งตรวจที่แม้จะชัดเจนแต่ก็ยังขาด การจัดลําดับและเรียบเรียงหมวดหมู่ที่ดี ซึ่งหลายครั้งทําให้ลูกค้าสับสนจนส่งข้อมูลที่จําเป็ นสําหรับผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ ไม่ครบถ้วนอยู่บ่อยครั้งรวมถึงไม่มีการจัดลําดับคําสั่งงานก่อนหลัง และกําหนด ระยะเวลาส่ งงานให้แก่เจ้าหน้าที่ตรวจ ทําให้การตรวจออนไลน์หลายครั้งใช้เวลานานกว่าวิธีการนํากระเป๋ าไปส่งถึงมือผู้ตรวจด้วยตนเองจากการถามตอบกันไปมาผ่านการพิมพ์ข้อความโต้ตอบที่ทําให้ลูกค้ารู้สึกวุ่นวายและเลือกที่จะไม่ส่งตรวจในที่สุด การศึกษานี้จึงเสนอแนวความคิดในการปรับปรุงประสบการณ์การใช้งานด้วยการปฏิรูป ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลบนพื้นฐานของการออกแบบและผลิตเทคโนโลยีบริการตนเองที่ช่วยให้ลูกค้าทําการสั่งซื้อ เข้าถึงและแลกเปลี่ยนทรัพยากรกับบริษัทโดยไม่ต้องมีปฏิสัมพันธ์กับพนักงานโดยตรงลดขั้นตอนการสื่อสารผ่านข้อความโต้ตอบลงให้เหลือน้อยที่สุดมีการจัดเตรียมช่องนําส่งข้อมูลตามหมวดหมู่ และ เรียบเรียงข้อมูลที่จําเป็ นต่อการเรียงลําดับการตรวจให้พร้อมต่อการถูกตรวจ สอบมากที่สุดโดยไม่ละเลยช่องทางในการสื่อสารกับลูกค้าในกรณีเร่งด่วน สามารถเพิ่มการมีส่วน ร่วมของเจ้าหน้าที่ผู้มีความเชี่ยวชาญไม่มากเข้ามาช่วยในภาระงานการตรวจวิเคราะห์ได้โดยไม่จําเป็นต้องมีความกดดันจากการกลัวการออกผลตรวจผิด โดยมีผู้เชี่ยวชาญในระดับอาวุโสเป็นผู้อนุมัติ และ คอยตรวจสอบยืนยันให้อีกครั้งเพื่อความถูกต้องก่อนส่งผลไปยังลูกค้าโดยอัตโนมัติ ผลการศึกษาพบว่าลูกค้าผู้ใช้งานส่งตรวจกระเป๋ าพึงพอใจกับประสบการณ์แบบใหม่คิดเป็นร้อยละ 59.4 จากเดิมร้อยละ 34 ในจํานวนผู้เข้าร่วม 20 คน โดยพึงพอใจกับความรวดเร็ว ที่ได้รับมากขึ้นจากการทํางานในรูปแบบบริการตนเอง และ การออกผลตรวจอัตโนมัติโดยไม่ต้องทวงถามเป็น ปัจจัยหลักส่วนผลจากการที่เจ้าหน้าที่ได้ทดลองใช้ระบบอํานวยความสะดวกแบบใหม่ก็มีความพึงพอใจในการอํานวยความสะดวกของระบบที่นําเข้ามาใช้ในระดับที่ดีมากขึ้นคิดเป็ นร้อยละ 72.8 จากเดิมร้อยละ 35.6 จากผู้เข้าร่วมกรอกแบบสัมภาษณ์ทั้งหมด 5 คนen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
632132045 Tanaset Kullapatmongkol.pdfAdd space between information2.29 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.