Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74117
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล-
dc.contributor.authorปานลิขิต ลิขิตกาญจน์en_US
dc.date.accessioned2022-09-20T01:01:38Z-
dc.date.available2022-09-20T01:01:38Z-
dc.date.issued2021-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74117-
dc.description.abstractThis study aimed at to perceive the faith which appeared in a Contemporary Lanna Crowned Buddha Images in Chiang Mai (1997-2017 A. D.). The study has found that the creation of contemporary Lanna crowned Buddha images had involved the creation of the emperor in the Chompoo Bodi Sutra and the creation of Phra Sri Ariya Maitri. In terms of artistic styles characteristics of the robes had evolved in the Pala style of art it used to create a Buddba image in Lanna. The study has found that there is some belief has been changed from the past, the creator aimed to response to the objective, and the place of buddha image has approved the Chompoo Bodi Sutra to show wealthiness and also fortune. In addition, the creation of Phra Sri Ariya Maitreya is also used to create a Buddha image as the main Buddha image in the chapel, the concept of a local Lanna Buddha image was used to create a Buddha image such as Phra Tan Jai, Buddha images associated with the King, Buddha image of the city, and Buddha image of fortune. Creation of contemporary Lanna crowned Buddha images in Chiang Mai caused by the social context that has changed from the traditional, there was cultural reproduction by bringing up the original art form then has made it more pronounced and added something new to respond to the tourism and capitalist context in the form of amulets. They also built the creation of contemporary Lanna crowned buddha images to locate in the others area in the north of Thailand. At the same time, the context of globalization and communication has resulted in artistic forms, it beliefs from other sources blended with the original belief in creating contemporary Lanna style Buddha images.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleคติการสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่องศิลปะล้านนาร่วมสมัย ในเชียงใหม่ (พ.ศ.2540-2560)en_US
dc.title.alternativeCreation of contemporary Lanna crowned Buddha images in Chiang Mai (1997-2017 A.D.)en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashพระพุทธรูป -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashพุทธศาสนา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกมานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีความเข้าใจต่อคติความเชื่อที่ปรากฎในพระพุทธรูปทรงเครื่อง ศิลปะล้านในช่วงเวลา พ.ศ. 2340-2560 โดยการศึกษาพบว่าคติความเชื่อและรูปแบบของพระพุทธรูปทรงเครื่องสมัยล้านนามีนัยยะเกี่ยวข้องกับคติพระเจ้าจักรพรรดิในชมพูบดีสูตรและคติพระศรีอาริยเมตไตรย ส่วนในด้านรูปแบบทางศิลปกรรม ลักษณะเครื่องทรงมีพัฒนาการรูปแบบทางศิลปกรรมแบบปาละ มาปรับใช้สร้างพระพุทธรูปทรงเครื่องในล้านนา จากการศึกษาพบว่าในปัจุบันมีคติความเชื่อที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยผู้สร้างมุ่งเน้นเพื่อตอบสนองกับวัตถุประสงค์ และสถานที่ประดิษฐาน มีการประยุกต์ใช้คติชมพูบดีสูตรเพื่อแสดงถึงความร่ำรวย การบันดาลโชค นอกจากนี้ยังมีการนำคติพระศรีอาริยเมตไตรยมาใช้สร้างพระพุทธรูปทรงเครื่องเป็นพระประธานในอุโบสถอีกด้วย มีการใช้แนวคิดพระพุทธรูปท้องถิ่นล้านนามาสร้างเป็นพระพุทธรูปทรงเครื่อง ได้แก่ พระเจ้าทันใจ พระพุทธรูปที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์ พระพุทธรูปสำคัญประจำเมือง และพระพุทธรูปบันดาลโชค คติพระพุทธรูปทรงเครื่องศิลปะล้านนาร่วมสมัยในเชียงใหม่เกิดจากบริบททางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปจากยุคจารีต มีการผลิตช้ำทางวัฒนธรรมโดยหยิบยกรูปแบบศิลปกรรมเดิม ทำให้เด่นชัดขึ้น และเพิ่มเติมสิ่งใหม่เข้าไป เพื่อตอบสนองต่อบริบทการท่องเที่ยวและบริบททุนนิยมในรูปแบบของวัตถุมงคลที่ระลึก อีกทั้งยังมีการสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่องศิลปะล้านนาเพื่อนำไปประดิษฐานยังพื้นที่อื่นนอกเขตภาคเหนืออีกด้วย ขณะเดียวกันบริบทด้านโลกาภิวัตน์และการสื่อสารส่งผลให้รูปแบบทางศิลปกรรม คติความเชื่อจากแหล่งอื่นเข้ามาผสมผสานกับความเชื่อเดิมในการสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่องสำนนาร่วมสมัยen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590131031 ปานลิขิต ลิขิตกาญจน์.pdf7.25 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.