Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74116
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิโรจน์ อินทนนท์ | - |
dc.contributor.advisor | ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล | - |
dc.contributor.author | จุมพล สุยะต๊ะ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-19T10:11:08Z | - |
dc.date.available | 2022-09-19T10:11:08Z | - |
dc.date.issued | 2021-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74116 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to study the dominant features of structures and substances, including evaluation of quality of Pali literary works of Phra Sirimangalacariya based on four works: 1) Vessantaradipani, 2) Cakkavaladipani, 3) Sankhayapakasakatika, and 4) Mangalatthadipani. It was conducted by analytical studying the dominant features of structures, content presentation, and substances, and then summarizing data, evaluating the quality, and writing in descriptive approach. The results revealed that the literary works of Phra Sirimangalacariya had a perfect structure of components of commentary literature. It consisted of seven content presentation styles which were as follows: 1) word analysis, 2) word explanation referenced to related scriptures, 3) subject to clarification, 4) classification, 5) reference, 6) data collection from other scriptures, and 7) evaluation of referenced data accuracy. The dominant features of substances indicated that Vessantaradipani was a guidebook for learning language and Pali literature, Cakkavaladipani was a profound research work expressed comments and correct evaluations with keen intelligent reasons, Sankhaya@pakasakatika was a manual for calculations of Cakkavaladipani, and Mangalatthadipani was literary works invented for basic Dharma propagation to public. All these works were revealed the three values of literatures in the followings: language value that had a correct and smooth grammatical usage, Dharma content value that focused on preaching of the Buddha teachings for supreme beneficial lifestyle, and social value that reflected from literary works themselves which had an effective implementations for learning and teaching manual, Buddhist propagation, including other knowledge associated with daily life of people from the past until now. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ลักษณะเด่นและคุณค่าของผลงานวรรณกรรมบาลีของพระสิริมังคลาจารย์ | en_US |
dc.title.alternative | Dominant features and values in Phrasirimangalacariya’s Pali literary works | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | วรรณคดีบาลี | - |
thailis.controlvocab.thash | วรรณคดีพุทธศาสนา | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะเด่นด้านรูปแบบและเนื้อหา รวมถึงประเมินคุณค่าของผลงานวรรณกรรมบาลีของพระสิริมังคลาจารย์ โดยศึกษาจากผลงานทั้ง 4 เรื่อง คือ 1) เวสสันตรทีปนี 2) จักกวาฬทีปนี 3) สังขยาปกาสกฎีกา และ 4) มังคลัตถที่ปนี ใช้วิธีการศึกษาโดยการวิเคราะห์ ลักษณะเด่นของโครงสร้าง การนำเสนอเนื้อหา รวมถึงตัวเนื้อหา แล้วจึงประมวลผลและประเมินคุณค่านำเสนอในเชิงพรรณนา จากการศึกษาพบว่า ผลงานวรรณกรรมบาลีของพระสิริมังคลาจารข์ มีโครงสร้างที่สมบูรณ์ตามองค์ประกอบของวรรณกรรมอัตถวัณณนา มีลักษณะเด่นของการนำเสนอเนื้อหาที่เหมือนกัน 7 วิธี คือ 1) การวิเคราะห์คำศัพท์ 2) การอธิบายคำศัพท์ด้วยคัมภีร์ที่เกี่ยวข้อง 3) การขยายความ 4) การจำแนกประเภท 5) การอ้างอิง 6) การประมวลข้อมูลจากคัมภีร์ต่างๆ และ 7) การประเมินความความถูกต้องของข้อมูลที่นำมาอ้างอิง ส่วนลักษณะเด่นของเนื้อหา กล่าวคือ เวสสันตรที่ปนีเป็นคู่มือประกอบการศึกษาภาษาและรรณกรรมบาลี จักกวาฬทีปนีเป็นงานค้นคว้าวิจัยที่ลึกซึ้ง โดยที่ท่านกล้าวิจารณ์และประเมินความถูกต้องของคัมภีร์ต่างๆ ด้วยเหตุผลที่ลึกซึ้งคมคาย โดยมีสังขยาปกาสกฎีกาเป็นคู่มือในการทำความเข้าใจการคำนวณต่างๆ ในจักกวาฬทีปนี และมังคลัตถทีปนีเป็นสื่อวรรณกรรมที่เขียนออกมาเพื่อใช้เป็นคู่มือการเผแผ่หลักธรรมขั้นพื้นฐานแก่ประชาชน และพบคุณค่าทั้ง 3 ด้าน กล่าวคือด้านภาษา เป็นการใช้ภาษาบาลีที่ถูกต้องและสละสลวย ด้านสาระทางธรรม มุ่งแสดงหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ก่อให้เกิดประโยชน์ในการดำเนินชีวิตอย่างแท้จริง และด้านสังคม ซึ่งสะท้อนออกมาจากตัวผลงาน ส่งผลให้เกิดการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในฐานะคู่มือการเรียนการสอน การเผยแผ่ศาสนา รวมถึงองค์ความที่สัมพันธ์กับการดำรงชีวิตของผู้คนในอดีตและปัจจุบัน | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590131019 จุมพล สุยะต๊ะ.pdf | 4.41 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.