Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74115
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ | - |
dc.contributor.author | อนุวัตร อินทนา | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-19T09:59:32Z | - |
dc.date.available | 2022-09-19T09:59:32Z | - |
dc.date.issued | 2021-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74115 | - |
dc.description.abstract | The construction of "the people under royal patronage" of the Pgaz k'nyan ethnic group in Doi Inthanon area is a process under socioeconomic transformations that are closely intertwined with their ethnicity. Since the times of their settlement, Pgaz k'nyan society around Doi Inthanon has revolved around the intra-group relations, including the spatial environment around them. From the 1950s, changes coming from the outside, especially the expansion of Thai state mechanisms to manage the "area" under the discourse of "hill-tribe problems", pushed the Pgaz kinyan into hardship in many respects. Around the same time, the Thai monarchy also expanded its role to alleviate their plight, such as granting them citizenship and maintaining their livelihoods, which allowed them to thrive. Especially after the 1980s, their livelihoods began to intertwine with capitalist exchange more intensively. "Royal projects' farmers" became a channel for an economically secure life for them. Not only producing commercially, being an agricultural worker in the royal projects also ties them closely with the institution. This intensified from the late 1990s when it was no longer only about survival and liveliboods, but also identities, constructed and reconstructed in different dimensions. The idea of "the people under royal patronage" has taken root into the perception of the larger Thai society through such processes. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปกาเกอะญอใต้พระบรมโพธิสมภาร: กระบวนการก่อร่างสร้างตัวตนของชาวปกาเกอะญอดอยอินทนนท์ในบริบทของสมัยพัฒนา | en_US |
dc.title.alternative | Pgaz k'nyan people under the royal patronage: The Process of constructing Pgaz k'nyan identity around Doi Inthanon in the context of the development era | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | กะเหรี่ยงสะกอ -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | กลุ่มชาติพันธุ์ -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | ความสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์ | - |
thailis.controlvocab.thash | อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การก่อร่างตัวตน "ราษฎรใต้พระบรมโพธิสมภาร" ของชาวปกาเกอะญอดอยอินทนนท์เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขของความเปลี่ยนแปลงสังคมเศรษฐกิจ ซึ่งสัมพันธ์กับวิถีการดำรงชีพของกลุ่มชาติพันธุ์อย่างแนบแน่น โดยนับตั้งแต่ยุคการตั้งถิ่นฐาน สังคมปกาเกอะญอดอยอินทนนท์ดำรงอยู่ภายใด้เงื่อนไขของความสัมพันธ์ภายในกลุ่มชาติพันธุ์ รามถึงความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์กับพื้นที่เป็นหลัก กระทั่งเมื่อเข้าสู่ทศวรรษ 2500 พื้นที่ดอยอินทนนท์เริ่มปรากฎเงื่อนไขของความเปลี่ยนแปลงจากการขยายกลไกอำนาจในการเข้ามาจัดการ "พื้นที่" ภายใต้วาทกรรม "ปัญหาชาวเขา" ส่งผลให้ชาวปกาเกอะญอดอยอินทนนท์ต้องเผชิญกับสภาวะการดำรงชีพอันยากลำบากมากยิ่งขึ้น ช่วงเวลาเดียวกันนี้สถาบันพระมหากษัตริย์ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในการดำเนินงานช่วยเหลือชาวปกาเกอะญอดอยอินทนนท์ในด้านต่าง ๆ ตั้งแต่การให้สถานะความเป็น "พลเมืองไทย" หรือการช่วยเหลือด้านการดำรงชีพซึ่งได้ส่งผลให้สังคมปกาเกอะญอดอยอินทนนท์สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคง โดยเฉพาะหลังทศวรรษ 2520 ซึ่งสังคมเศรษฐกิจของชาวปกาเกอะญอดอยอินทนนท์เริ่มเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมอย่างเข้มข้น การเข้าสู่การเป็น "เกษตรกรโครงการหลวง" จึงถือเป็นช่องทางการดำรงชีพที่มั่นคงภายใต้ที่ทำให้กลุ่มชาติพันธุ์สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสมโดยนอกจากการเข้าสู่การเป็น "เกษตรกร โครงการหลวง" จะเป็นหนทางในการปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตโดยการเข้าสู่การเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจเพื่อการค้าแล้ว การเป็นเกษตรกรโครงการหลวงยังมีความหมายถึงการเชื่อมโยงชาวปกาเกอะญอดอยอินทนนท์เข้ากับสถาบันพระมหากษัตริย์ดังที่สะท้อนให้เห็นจากหลังทศวรรย 2540 ความเป็น "เกษตรกรโครงการหลวง" มิได้ปรากฏในมิติด้านการดำรงชีพเท่านั้น หากแต่ยังได้รับการสร้างและผลิตช้ำในมิติที่หลากหลาย กระทั่งได้ส่งผลต่อการรับรู้ตัวตนความเป็น "ราษฎรใด้พระบรมโพธิสมภาร" ที่ได้แทรกซึมลงไปสู่การรับรู้ของคนกลุ่มต่าง ๆ ในสังคมไทยอย่างลึกซึ้ง | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590131015 อนุวัตร อินทนา.pdf | 5.78 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.