Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74105
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สายชล สัตยานุรักษ์ | - |
dc.contributor.advisor | อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ | - |
dc.contributor.advisor | ธิกานต์ ศรีนารา | - |
dc.contributor.author | ศรุตม์ เพชรสกุลวงศ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-18T03:28:47Z | - |
dc.date.available | 2022-09-18T03:28:47Z | - |
dc.date.issued | 2021-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74105 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this dissertation is to explore the lives of prostitutes in Hat Yai from 1967 to 2017, during which the town’s economy began to flourish, reached its peak, and drastically sank into recession. The study intends to develop a better understanding of prostitutes’ lives and their ways of thinking and to puncture the myth about prostitutes in order to provide possible solutions to tackle foreseeable prostitutes’ problems in the future. The key findings indicate that the actual lives of prostitutes living in Hat Yai are different from the society’s perceptions over the periods, which are: (1) the factors triggering women’s decision to start their career as a prostitute for living; (2) the relationships with other members of the society; (3) problem-solving strategies; and (4) resistance, and a bargain of power to dismantle oppression to meet their interests or to remain their identities and dignity regarding the ideology and value that the prostitutes recognise. These elements have changed according to the contexts of environmental surroundings, mainstream ideology, and values established in society, which affect the definition of the meaning of life and self-identification and impact deciding to start, adjust, and end the career. Interaction between the different groups of prostitutes and their surrounding communities, that can be divided into six groups: (1) families; (2) neighbours; (3) procurers, (4) male-customers; (5) colleagues; and (6) state officers, had changed following the economic and social contexts. This interaction presents the adjustment and resistance of the prostitutes in a certain situation to avoid being subject to abuse and be able to have a meaningful life and dignity as long as options and opportunities are available. ฏ The study on the changes of prostitutes in Hat Yai as a part of Hat Yai’s history shows that prostitutes have played a crucial role in pushing local economic development further. As human beings, prostitutes are trying their best efforts to survive. Even though the social structure and contexts already limited life opportunities, the prostitutes’ right to choose in the neo-liberalism age are similar to other groups of people in the society—to be more liberal. However, the prostitutes still have to concern about their lives based on the risks from the state officers, male customers, and economic uncertainty | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของ ‘โสเภณี’ ในเมืองหาดใหญ่ ระหว่างปี พ.ศ. 2510-2560 | en_US |
dc.title.alternative | Social and cultural changes of the ‘prostitutes’ in Hat Yai city, 1967-2017 | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | โสเภณี -- ไทย (ภาคใต้) | - |
thailis.controlvocab.thash | ธุรกิจบริการทางเพศ -- ไทย (ภาคใต้) | - |
thailis.controlvocab.thash | การค้าประเวณี -- ไทย (ภาคใต้) | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ดุษฎีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชีวิตของ 'โสเภณี' ในพื้นที่เมืองหาดใหญ่ระหว่าง พ.ศ. 2510-2560 อันเป็นช่วงเวลาที่เศรษฐกิจของเมืองหาดใหญ่ผันแปรจากยุคแรกเริ่มของความเจริญเติบโต เข้าสู่ยุคที่เกิดความเจริญเติบโตสูงสุด แล้วกลับเสื่อมถอยลงอย่างรวดเร็ว โดยหวังว่าจะเป็นองค์ความรู้ ใหม่ที่ช่วยให้เข้าใจชีวิตและจิตใจของ 'โสเภณี' รามทั้งทำลายมายาคติที่มีต่อ 'โสเกณี' และเอื้อต่อการ แก้ปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของ 'โสเภณี' ในอนากต ข้อค้นพบที่สำคัญ ก็คือ ชีวิตจริงของ 'โสเภณี' แตกต่างจากภาพลักษณ์ที่สังคมรับรู้ มีความ แตกต่างหลากหลายของ 'โสเภณี' ในแต่ละยุด นับตั้งแต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าสู่อาชีพ โสเภณี ความสัมพันธ์กับคนกลุ่มต่างๆ ที่แวดล้อมชีวิต วิธีการจัดการกับปัญหาที่เผชิญ รวมทั้งการ ต่อสู้ต่อรองเพื่อลดการกดขี่หรือเอาเปรียบ หรือเพื่อจะได้รับในสิ่งที่ตนเองต้องการ หรือเพื่อที่จะมี ตัวตนที่มีความหมายหรือมีศักดิ์ศรีตามอุดมการณ์และระบบคุณค่าที่ 'โสเภณี' ยึดถือ ซึ่งจะแปรผันไป ตามสภาพแวดล้อมหรืออุดมการณ์และระบบคุณค่าหลักของสังคม ซึ่งไม่เพียงแต่จะส่งผลต่อการให้ ความหมายแก่ชีวิตหรือตัวตนของตนเองเท่านั้น ยังส่งผลต่อการตัดสินใจเริ่มต้นทำงานขายบริการ การ ปรับตัวระหว่างการทำงาน ตลอดจนการตัดสินใจเลิกทำงานขายบริการอีกด้วย ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง 'โสเภณี' กลุ่มต่างๆ กับกลุ่มบุคคลที่ใกล้ชิดกับชีวิตของพวกเธอทั้ง 6 กลุ่ม คือ ครอบครัว เพื่อนบ้าน พ่อเล้าแม่เล้า ชายนักเที่ยว เพื่อนหญิงโสเภณีและเจ้าหน้าที่รัฐ เปลี่ยนแปลงไปตามบริบททางเศรษฐกิจและสังคม สะท้อนให้เห็นถึงการปรับตัวและการตอบโต้ต่อ สถานการณ์ต่างๆ ของ'โสเภณี' เพื่อไม่ให้ตนเองเป็นฝ่ายที่ถูกกระทำแต่เพียงฝ่ายเดียว สามารถดำเนิน ชีวิตอย่างมีเหตุผลและมีศักดิ์ศรีเท่าที่ทางเลือกและ โอกาสต่างๆ จะเอื้อให้สามารถทำได้ การศึกษาความเปลี่ยนแปลงในชีวิตของ 'โสเภณี'เมืองหาดใหญ่ ในฐานะส่วนหนึ่งของ ประวัติศาสตร์เมืองหาดใหญ่ ทำให้เห็นได้ชัดว่า 'โสเภณี' เป็นคนกลุ่มหนึ่งที่มีส่วนอย่างสำคัญในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของเมืองหาดใหญ่ และในฐานะมนุษข์ 'โสเภณี' ได้พยายามสู้ชีวิตอย่างดีที่สุด ตามวิถีทางที่ตนเองจำเป็นต้องเลือกเดิน แม้ว่า โครงสร้างสังคมและบริบทต่างๆ จะเป็นเงื่อนไขที่จำกัด ทางเลือกในชีวิตอยู่มาก รวมทั้งในยุคเสรีนิยมใหม่ที่ทางเลือกของ 'โสเภณี' มีความคล้ายคลึงกับคน กลุ่มอื่นๆ ในสังคมอย่างมาก นั่นคือเป็น "อิสระ" มากขึ้น แต่ก็ต้องแบกรับความเสี่ยงในชีวิตมากขึ้น รวมทั้งความเสี่ยงจากเจ้าหน้าที่รัฐ ชายนักเที่ยว และความผันผวนของระบบเศรษฐกิจด้วย | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
580151005 ศรุตม์ เพชรสกุลวงศ์.pdf | 8.79 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.