Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74085
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWeerapan Aunmeungtong-
dc.contributor.advisorPathawee Khongkhunthien-
dc.contributor.authorWipawan Chatrattanaraken_US
dc.date.accessioned2022-09-10T03:13:56Z-
dc.date.available2022-09-10T03:13:56Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.issn1708-8208-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74085-
dc.description.abstractObjectives: To compare the long-term prospective clinical outcomes in a previous randomized controlled clinical trial (RCT) of 2 Mini Dental Implant (2MDI), 4 Mini Dental Implant (4MDI), and 2 Conventional Dental Implant (2CDI)-retained mandibular overdenture with follow-up between 5 to 8 years. Materials and Methods: Thirty-seven patients formerly participated in Comparative Clinical Study of CDI and MDI for Mandibular Overdenture were requested for examination of clinical outcomes. A total of 104 implants were placed with mean follow-up periods 6.64±0.60 years. In Groups 1 (2MDI) and Group 2 (4MDI), implants were placed and immediately loaded with Equator® attachments to retained mandibular overdenture. In group 3 (2CDI), implants were placed and delayed 3 months for denture loading with ball attachment. Success rate, survival rate, clinical implant performance scale (CIP scale), peri-implant tissue status, prosthetic complication, implant stability quotient (ISQ), marginal bone level change (MBLC), and patient satisfactions were analyzed. Results: After 5 to 8 years follow-up, success rate in Group 1, 2, and 3 were 90.91%, 93.33%, and 54.55%, respectively. The success rate in Group 3 was significantly lesser than Group 1 (p=0.016) and Group 2 (p<0.001). Survival rate in Group 1, 2, and 3 were 100%, 96.67%, and 90.91%, respectively, and showed no significant differences. Mean ISQ reported no significant differences between groups. Mean MBLC were 0.57±1.19 mm, 0.68±0.90 mm and 1.55±1.60 mm in Group 1, 2, and 3, respectively. Group 3 reported significantly greater mean MBLC than Group 1 (p=0.016) and Group 2 (p=0.011), but Group 1 and 2 were not significantly differences. The overall patient satisfactions were reported as not significant differences between groups. Conclude: Two MDI-retained mandibular overdentures with immediate loaded protocol performed had favorable clinical outcomes, cost effectiveness, and overall patient satisfactions after 5 to 8 years follow-up.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectimmediate loaded protocolen_US
dc.subjectimplant retained-mandibular overdentureen_US
dc.subjectISQen_US
dc.subjectlong-term clinical studyen_US
dc.subjectmarginal bone level changeen_US
dc.subjectmini dental implanten_US
dc.subjectpatient satisfactionen_US
dc.subjectsuccess rateen_US
dc.subjectsurvival rateen_US
dc.titleComparative clinical study of conventional dental implant and mini dental implant-retained mandibular overdenture: a 5- to 8-year prospective clinical outcomes in a previous randomized clinical trialen_US
dc.title.alternativeการศึกษาเปรียบเทียบทางคลินิกในรากเทียมขนาดปกติเทียบ กับรากเทียมขนาดเล็ก ที่รองรับฟันเทียมทั้งปากในขากรรไกรล่าง: การศึกษาไปข้างหน้าของผลการรักษาทางคลินิกแบบสุ่ม 5-8 ปีen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashDentures-
thailis.controlvocab.thashTeeth -- Roots-
thailis.controlvocab.thashMandible-
thailis.manuscript.sourcehttp://onlinelibrary.wiley.com/journal/10.1111/(ISSN)1708-8208/homepage/ForAuthors.html-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบผลของการรักษาทางคลินิกแบบสุ่มในรากเทียมขนาดเล็ก 2 ตัว, 4 ตัวและรากเทียมขนาดปกติ 2 ตัวที่รองรับฟันเทียมทั้งปากในขากรรไกรล่าง ภายหลังการใช้งาน 5-8 ปี วัสดุและวิธีการ: การศึกษาผลการรักษาทางคลินิกในคนไข้ที่เคยเข้าร่วมงานวิจัยเรื่อง การทดลองเปรียบเทียบทางคลินิกแบบสุ่มเพื่อศึกษาผลการรักษาในรากเทียมขนาดปกติเทียบกับรากเทียมขนาดเล็กที่รองรับฟันเทียมทั้งปากในขากรรไกรล่าง จำนวน 37 คน รากเทียม 104 ตัว ระยะเวลาติดตามผลเฉลี่ย 6.64±0.60 ปี แบ่งคนไข้เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ฝังรากเทียมขนาดเล็ก 2 ตัว ร่วมกับการใส่ฟันเทียมทั้งปากทันทีและใช้หน่วยยึดชนิด Equator® กลุ่มที่ 2 ฝังรากเทียมขนาดเล็ก 4 ตัว ร่วมกับการใส่ฟันเทียมทั้งปากทันทีและใช้หน่วยยึดชนิด Equator® กลุ่มที่ 3 ฝังรากเทียมขนาดปกติ 2 ตัว รอ 3 เดือนจึงใส่ฟันเทียมทั้งปากและใช้หน่วยยึดชนิดบอล เก็บผลการรักษาเปรียบเทียบอัตราความสำเร็จของรากเทียม อัตราความอยู่รอดของรากเทียม สภาพทางคลินิกของรากเทียม สภาวะปริทันต์รอบรากเทียม ผลแทรกซ้อนของฟันเทียมบนรากเทียม ค่าความเสถียรของรากเทียม ผลการเปลี่ยนแปลงของกระดูกรอบรากเทียม ผลการประเมินความพึงพอใจของคนไข้ ผลการศึกษา: ภายหลังการติดตามผลการรักษา 5-8 ปี พบว่าอัตราความสำเร็จของรากเทียมในกลุ่มที่ 1 คือ ร้อยละ 90.91 กลุ่มที่ 2 คือ ร้อยละ 93.33 และ กลุ่มที่ 3 คือ ร้อยละ 54.55 โดยกลุ่มที่ 3 มีอัตราความสำเร็จน้อยว่ากลุ่มที่ 1 (p=0.016) และกลุ่มที่ 2 (p<0.001) อย่างมีนัยสำคัญ อัตราความอยู่รอดของรากเทียมในกลุ่มที่ 1 คือ ร้อยละ 100 กลุ่มที่ 2 คือ ร้อยละ 96.67 และ กลุ่มที่ 3 คือ ร้อยละ 90.91 โดยอัตราความอยู่รอดของรากเทียมไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในแต่ละกลุ่ม ค่าเฉลี่ยของผลการเปลี่ยนแปลงของกระดูกรอบรากเทียมในกลุ่มที่ 1 คือ 0.57±1.19 มม.กลุ่มที่ 2 คือ 0.68±0.90 มม. และ กลุ่มที่ 3 คือ 1.55±1.60 มม.โดยพบว่ากลุ่มที่ 3 มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูกรอบรากเทียมมากกว่ากลุ่มที่ 1 (p=0.016) และกลุ่มที่ 2 (p=0.0111) อย่างมีนัยสำคัญ ส่วนค่าความเสถียรของรากเทียมและความพึงพอใจโดยรวมของคนไข้ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในแต่ละกลุ่ม สรุปผลการศึกษา: ภายใต้ข้อจำกัดของการศึกษาพบว่ารากเทียมขนาดเล็ก 2 ตัวร่วมกับการใส่ฟันเทียมทั้งปากทันที ให้ผลการรักษาทางคลินิกที่ดีทั้งในด้านผลการตรวจทางคลินิก ค่าใช้จ่ายในการรักษา และระดับความพึงพอใจโดยรวมของคนไข้ภายหลังการติดตามผลการรักษา 5-8 ปีen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620931035 วิภาวรรณ ฉัตรรัตนารักษ์.pdf620931035-วิภาวรรณ ฉัตรรัตนารักษ์2.46 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.