Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74081
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNatthawut Arin-
dc.contributor.authorมาริษา อัจฉะวงค์en_US
dc.date.accessioned2022-09-10T02:50:40Z-
dc.date.available2022-09-10T02:50:40Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74081-
dc.description.abstractThis research is the hermeneutic phenomenological approach and aims to examine life experiences and cognitive adaptation of female inmates who live in correctional institution. The information of this study was collected from 14 female inmates and the in-depth interviews were performed. The qualitative data obtained is analyzed using content analysis. The results reveal that life experiences and cognitive adaptation of female inmates could be arranged into 3 parts as follows:Life experiences, lifestyle and routine activities of female inmates while living in prison, is composed of three major factors: 1) Daily routine of inmates 2) Society in correctional institution 3) Safety. Psychological Experiences of Inmates, Female inmates’ thoughts and emotions after they came to the prison, consisted of 5 main themes: 1) Feeling of suffering 2) Feeling of guilt towards families and lovers 3) Anxiety about lawsuits and judgments 4) Bodies out of control 5) Struggle in the past events.Cognitive Adaptation, Cognitive Adaptation of Inmates, which is the cognitive process could help them to solve problems and to be well-being, contained 2 main themes:1) Cognitive adaptation affected from internal world 2) Cognitive adaptation caused by external supportive factors. The research finding leads to understanding of experiences and cognitive adaptations of female inmates who live in correctional institution. In addition, the research results indicate that mental health healing by counseling psychology in female inmates is considered as a supportive counsel, to help them to introspect, to aware of themselves, to esteem their internal value or self-worth, in order that they are be able to find hope, optimism, mindfulness and to live in the present moment, including find out their own coping strategies. In conclusion, the research results of the process can help female inmates to have well-being and ease their living in the prison.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectFemale Inmatesen_US
dc.subjectLife experiencesen_US
dc.subjectCognitive adaptationen_US
dc.titleโลกหลังกำแพง : ประสบการณ์ชีวิตและการปรับตัวทางความคิด ของผู้ต้องขังหญิงen_US
dc.title.alternativeWorld Behind the Wall: Life Experiences and Cognitive Adaptation of Female Inmatesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashนักโทษ -- การปรับพฤติกรรม-
thailis.controlvocab.thashนักโทษ -- การดำเนินชีวิต-
thailis.controlvocab.thashนักโทษหญิง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์ชีวิตและการปรับตัวทางความคิดของผู้ต้องขังหญิงขณะดำเนินชีวิตอยู่ในทัณฑสถาน ด้วยระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยา โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ต้องขังหญิงจำนวน 14 ราย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 คือ ประสบการณ์วิถีชีวิต คือ การสะท้อนถึงวิถีชีวิต กิจวัตรประจำวันภายในทัณฑสถานภายใต้ข้อจำกัด ไร้ซึ่งอิสรภาพ ประกอบด้วย 3 ประเด็นหลัก คือ 1) ประสบการณ์ในกิจวัตรประจำวัน คือ ตารางชีวิต และกิจกรรมแต่ละวันภายในทัณฑถาน 2) ประสบการณ์กับบุคคลรอบข้าง คือ บุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือมีอิทธิพลต่อผู้ต้องขัง ขณะดำเนินชีวิตในทัณฑสถาน ไม่ว่าจะเป็น เพื่อนผู้ต้องขัง เจ้าหน้าที่ ครอบครัว และคนรัก 3) ประสบการณ์ด้านความปลอดภัย คือ สิ่งอำนวยความสะดวกทางกายและทางใจ มีผลต่อการเกิดความไว้วางใจของผู้ต้องขัง ส่วนที่ 2 คือ ประสบการณ์ทางจิตใจ คือ การสะท้อนถึงความคิด และความรู้สึกของผู้ต้องขังหญิงหลังจากก้าวเข้าสู่ทัณฑสถาน ครอบคลุมถึงช่วงก่อนปรับตัว ประกอบด้วย 4 ประเด็นหลัก คือ 1) ความรู้สึกทุกข์ทรมานใจ 2) ความรู้สึกผิดต่อครอบครัวและคนรัก 3) ความกังวลเกี่ยวกับคดีและการตัดสิน 4) ความต้องการกลับไปแก้ไขเรื่องราวในอดีต ส่วนที่ 3 คือ การปรับตัวทางความคิด คือการสะท้อนถึง ผู้ต้องขังเกิดกระบวนการปรับตัว ซึ่งทำให้สามารถดำเนินชีวิตภายในทัณฑสถานได้เหมาะสมตามสถานการณ์ที่เผชิญ และมีสุขภาพจิตดี ประกอบด้วย 2 ประเด็นหลัก คือ 1) การปรับตัวทางความคิดจากพลังผลักดันภายใน 2) การปรับตัวทางความคิดจากสิ่งส่งเสริมภายนอก ผลการวิจัย นำไปสู่ข้อเสนอแนะส่งเสริมกระบวนการเยียวยาและฟื้นฟูทางจิตใจในกลุ่มผู้ต้องขังหญิง ด้วยกระบวนการทางจิตวิทยา เพื่อช่วยให้ผู้ต้องขัง เกิดการพิจารณาตน การตระหนักรู้ต่อตนเอง รับรู้คุณค่าภายในตนเอง พบเจอความหวัง มองโลกในแง่ดี มีสติ ตลอดจนค้นพบกลวิธีการเผชิญหน้ากับปัญหาได้อย่างเหมาะสม จะทำให้ผู้ต้องขังหญิงมีสุขภาพจิตที่ดีen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.