Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74074
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAchara Khamaksorn-
dc.contributor.authorMeini Wangen_US
dc.date.accessioned2022-09-02T12:19:39Z-
dc.date.available2022-09-02T12:19:39Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74074-
dc.description.abstractKnowledge Management (KM) is recognised as a vehicle through which innovation and improved business performance is possible. KM has also been defined as the establishment of a management system of cognitive flows which enables all components of an organisation to enrich the corporate knowledge. Knowledge flows refer to the transfer of expertise. The flow of knowledge is strategically important to organisations for several reasons. It can improve the communication and transformation between tacit and explicit knowledge, as well as, promote the regeneration of tacit knowledge. In the nursing care, the demand for high quality nursing care and their knowledge are increases and needs. Acquiring knowledge from the doctors and their colleagues regards as the main way to exchange knowledge. Communication conducted through informal mechanisms is a more reliable for the flow of knowledge. To understand how successfully during a team’s development, an efficient knowledge flow frequently involves overcoming problems that affect the team, the relationship between them and other functions inside and outside the network are very important. The knowledge flow is influenced by different factors, both facilitating and hindering. Identifying the factors can better help organisations understand the current situation in the department and develop policies through organization accordingly. This paper begins with the literature reviews of the definition of KM theories, the knowledge flow, and Social Networks (SNs) theory. Questionnaire survey to identify social network analysis, knowledge sources, communication methods, and knowledge types were carried out. UCINET and NetDraw software package were used to analyses quantitative data and presented sociogram of the network. Social Network Analysis and Knowledge mapping within NICU1 was conducted from the five key actors. As a result, it shows that nursing operational skill is the most frequently consulted type of knowledge among nurses. Face-to-face communication and Line application identified as the most generally used communication methods. Moreover, the result shows that consulting with the doctors and other nurses was the most ways to acquire knowledge. Furthermore, an online interview was carried out with three of the experts. Eleven hindering factors and six facilitating factors in the NICU1 team were obtained. The knowledge flow framework of the department was constructed by combining the influencing factors and the previously obtained communication methods and knowledge types. Validation is done with three experts for the constructed knowledge flow framework and improving the knowledge flow framework based on the feedback.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleKnowledge mapping of the newborn intensive care unit using social network analysisen_US
dc.title.alternativeการทำแผนที่ความรู้ของหอผู้ป่วยทารกแรกเกิดระยะวิกฤตโดยใช้การ วิเคราะห์เครือข่ายทางสังคมen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashNewborn infants -- Diseases-
thailis.controlvocab.thashOnline social networks-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) ถือเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่มีนวัตกรรมและสามารถพัฒนาผลการปฏิบัติงานขององค์กรให้มีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถเชิงแข่งขันสูงสุด การจัดการความรู้ยังเป็นระบบการจัดการกระแสความรู้ซึ่งทำให้หน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กรเกิดความรู้ความเข้าใจและกลายเป็นองค์กรแห่งความรู้ได้ กระแสองค์ความรู้ หมายถึง การถ่ายทอดองค์ความรู้ ซึ่งมีความสำคัญเชิงกลยุทธ์ต่อองค์กรด้วยเหตุผลหลายประการ การถ่ายทอดองค์ความรู้สามารถพัฒนาการสื่อสารและการเปลี่ยนแปลงระหว่างความรู้แบบนามธรรมและความรู้แบบรูปธรรมได้ อีกทั้งส่งเสริมให้เกิดการสร้างความรู้แบบนามธรรมขึ้นใหม่ ในด้านของการพยาบาล การถ่ายทอดองค์ความรู้สามารถตอบสนองความต้องการและเพิ่มพูนความรู้ในการพยาบาลที่มีคุณภาพสูงได้ ซึ่งการรับความรู้จากแพทย์และเพื่อนร่วมงานถือเป็นวิธีการหลักในการแลกเปลี่ยนความรู้ ทั้งนี้การสื่อสารผ่านกลไกที่ไม่เป็นทางการยังทำให้กระแสความรู้มีความน่าเชื่อถือมากขึ้นด้วย เพื่อทำความเข้าใจวิธีการที่ทำให้ประสบความสำเร็จในการพัฒนาทีม การถ่ายทอดองค์ความรู้ที่มีประสิทธิภาพจึงมักเป็นการเอาชนะปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อทีม และความสัมพันธ์ระหว่างกระแสความรู้กับฟังก์ชันอื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกเครือข่ายก็มีความสำคัญมาก นอกจากนี้กระแสความรู้ยังได้รับผลกระทบจากปัจจัยที่แตกต่างกัน ซึ่งมีทั้งปัจจัยเชิงบวกที่ช่วยสนับสนุนและปัจจัยเชิงลบที่เป็นอุปสรรค ดังนั้นแล้ว การระบุปัจจัยเหล่านี้อย่างแม่นยำและชัดเจนจะช่วยให้องค์กรเข้าใจสถานการณ์ปัจจุบันในหน่วยงานได้ดียิ่งขึ้น และสามารถกำหนดนโยบายให้สอดคล้องกันได้ งานวิจัยนี้เริ่มต้นด้วยการทบทวนเอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับคำจำกัดความของทฤษฎีการจัดการความรู้ การไหลเวียนของความรู้ และทฤษฎีเครือข่ายสังคม หรือ โซเชียลเน็ตเวิร์ก (Social Network) จากนั้นดำเนินการสำรวจแบบสอบถาม เพื่อระบุและวิเคราะห์เครือข่ายสังคม แหล่งความรู้ รูปแบบการสื่อสาร และประเภทของความรู้ โดยผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือซอฟต์แวร์ UCINET และ NetDraw ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและนำเสนอแผนภาพเครือข่ายสังคม ซึ่งการวิเคราะห์เครือข่ายสังคมและการทำแผนผังความรู้ใน NICU1 ในงานวิจัยนี้ดำเนินการโดยผู้เข้าร่วมทั้งหมด 5 คน ผลการวิจัยวพบว่า ประเภทความรู้ที่พยาบาลมักจะขอคำปรึกษามากที่สุดคือ ความรู้ด้านทักษะการพยาบาล และรูปแบบการสื่อสารที่นิยมใช้มากที่สุดคือ การสื่อสารแบบตัวต่อตัวและการสื่อสารแบบตามสาย และจากผลการวิจัยยังพบว่า การขอคำปรึกษาจากแพทย์และพยาบาลอื่นๆ เป็นวิธีการที่ดีที่สุดในการได้มาซึ่งความรู้ที่ต้องการ นอกจากนี้ ผู้วิจัยยังได้สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่านผ่านทางออนไลน์ ซึ่งก็ทำให้ได้ทราบเกี่ยวกับปัจจัยเชิงลบที่เป็นอุปสรรค 11 อย่าง และปัจจัยเชิงบวกที่ช่วยสนับสนุน 6 อย่าง สำหรับกรอบความรู้ของหน่วยงานนี้ประกอบไปด้วยสามส่วนสำคัญ ได้แก่ ปัจจัยที่มีอิทธิพล รูปแบบการสื่อสารที่ได้รับก่อนหน้านี้ และประเภทความรู้ ซึ่งผู้วิจัยได้ทำการตรวจสอบความถูกต้องของกรอบความรู้ดังกล่าวผ่านการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด 3 ท่าน และปรังปรุงแก้ไขกรอบความรู้ตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญen_US
Appears in Collections:CAMT: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.