Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74039
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรสลิน กาสต์-
dc.contributor.authorศศิธร เกตุดีen_US
dc.date.accessioned2022-09-01T16:19:05Z-
dc.date.available2022-09-01T16:19:05Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74039-
dc.description.abstract"Dress up Dolls" is an art project the background of which is the preference and remembrance towards doll dressing which is happiness during the days of youth that can hardly happen to adults. The recall of this happiness has inspired the creation of art works in this project, which are based on the concept of the doll that can have different dresses. The impression that bas been stored in the memory has been reflected through beauty and delicacy of the woven copper threads that are made into clothes and utensils for dolls in the dressing up for the dolls, which emphasize the importance of the dolls like valuable collectibles. Furthermore, audiences are also welcome to change dolls' dresses, which will make audiences feel enjoyment and use their imaginations while dressing up the dolls. The objectives of this project are (1) to refresh the happiness of the days of childhood with audiences, and (2) to emphasize on the importance of paper doll toys by changing materials from paper to mixed materials (multimedia). The works include dolls in the shapes of young men, women and children, the total number of which is 7.Made from metal materials, clothes of dolls that are crocheted from copper threads. The shelves for clothes made of transparent acrylic. All the works are presented in installation art style. All the seven sets of the works are displayed in the semicircle alignment in zigzag line so that audiences can approach to change clothes of the dolls from from any direction. The works in this set have met the concept and objectives that have been predetermined. The publicity in the form of an art exhibition enables me, the researcher, to see interactions that audiences have to the dolls while changing the dolls' clothes, which has led to many interesting questions. The audiences are aware of the value of the reiteration of old things from the past through art works that are greatly special. In addition, it has also been discovered that not only does the dimension of shadows support the works by adding aestheticism but it also adds meanings to the works. The dimension of shadows serves to reflect memories from the past to meet the works that are at present. This idea can be used for conducting new art projects in the future.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแต่งตัวตุ๊กตาen_US
dc.title.alternativeDress up dollsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashศิลปกรรม -- นิทรรศการ-
thailis.controlvocab.thashศิลปกรรม -- ผลงาน-
thailis.controlvocab.thashตุ๊กตา-
thailis.controlvocab.thashของเล่น-
thailis.controlvocab.thashการแต่งกาย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstract"แต่งตัวตุ๊กตา" เป็นผลงานศิลปะ มีที่มาจากภูมิหลังของความชอบความผูกพันต่อการเล่น แต่งตัวตุ๊กตา ซึ่งเป็นความสุขครั้งเยาว์วัยที่ให้คุณค่าทางใจและยากที่จะเกิดขึ้นได้กับวัยผู้ใหญ่ การได้หวน คิดถึงความสุขนี้ก่อให้เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะ โดยมีแนวความคิดใน เรื่องราวของตุ๊กตากับชุดเสื้อผ้าที่เปลี่ยนได้หลายชุด ถ่ายทอดความประทับใจที่สั่งสมอยู่ในความทรงจำ โดยการแสดงออกเป็นคุณค่าทางความงาม ความประณีต ผ่านการถักทอเส้นใยทองแดงก่อตัวขึ้นเป็นชุด เสื้อผ้าและสิ่งของที่ใช้ร่วมกันในการให้ความสำคัญต่อตุ๊กตาและการแต่งตัวตุ๊กตา ซึ่งเป็นเสมือนของ สะสมที่มีคุณค่าของตนเอง นอกจากนี้ยังเชื้อเชิญให้ผู้ชมได้มีส่วนร่วมสามารถเปลี่ยนชุดแต่งตัวใ ห้กับ ตุ๊กตาได้ เพิ่มความเพลิดเพลินต่อผู้ชม และยังเปิดทางให้ผู้ชมคิดจินดนาการเรื่องราวร่วมกับชุดเสื้อผ้าที่ ผู้ชมได้แต่งตัวใหม่ให้กับตุ๊กตาเหล่านี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ฟื้นความทรงจำของความสุขในวัยเด็ก ร่วมกับผู้ชม 2.สร้างความพิเศษและความสำคัญให้กับของเล่นตุ๊กตากระดาษที่ปรับจากวัสดุกระดาษมาสู่ งานศิลปะในลักษณะของประติมากรรมสื่อผสม ประกอบด้วยตุ๊กตารูปร่างคนหนุ่มสาวและเด็ก 7 ตัวด้วย วัสดุเหล็ก ชุดเสื้อผ้าต่างๆของแต่ละตุ๊กตาล้วนถักโครเชต์ขึ้นจากเส้นลวดทองแดง สร้างชั้นวางเสื้อผ้าที่ ประกอบขึ้นจากแผ่นอะคริลิคใส ทั้งหมดนี้นำเสนอเป็นศิลปะอินสตอลเลชั่น จัดวางทั้ง 7 หน่วยสลับเข้า ออกเป็น โครงสร้างครึ่งวงกลม เพื่อให้ผู้ชมเข้าไปเล่นเปลี่ยนเสื้อผ้าได้จากทุกทิศทาง ผลงานชุดนี้ได้ตอบแนวความคิดและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ การเผยแพร่ในรูปนิทรรศการทำ ให้เห็นถึงปฏิสัมพันธ์จากผู้ชมต่อผลงานในการเข้ามาเล่นเปลี่ยนเสื้อผ้าให้กับตุ๊กตา เกิดบทสนทนา ประเด็นคำถามที่น่าสนใจหลายประการ ผู้ชมเห็นคุณค่าจากการยกอดีตมาเล่าใหม่ผ่านรูปลักษณ์ของ ศิลปกรรมอย่างมีความพิเศษยิ่ง นอกจากนี้ยังได้ค้นพบการทำงานของมิติเงาที่นอกจากส่งเสริมผลงาน ทางการเพิ่มสุนทรียะแล้วยังร่วมสนับสนุนเพิ่มความหมายให้มิติเงาเป็นเสมือนเงาอดีตที่สะท้อนขึ้นมา เผชิญกับงานศิลปะที่เป็นปัจจุบันขณะด้วย ทำให้แตกประเด็นคิดที่จะนำไปสร้างสรรค์ผลงานชุดใหม่ ต่อไปen_US
Appears in Collections:FINEARTS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610331012 ศศิธร เกตุดี.pdf22.6 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.