Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74032
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี-
dc.contributor.authorกันยารัตน์ อาทนิตย์en_US
dc.date.accessioned2022-08-29T16:14:41Z-
dc.date.available2022-08-29T16:14:41Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74032-
dc.description.abstractThe Tai in Mong Yawng in Shan State of Myanmar, known as Tai Yawng, are Tai Lue who migrated from Sibson panna several hundred years ago. They brought the indigenous Tai Lue patterns and adopted some local patterns of Tai Yai and Tai Khun as well as some modern influences and resulted in the localized patterns. This research is interested in exploring the villages and houses in this area as it is the area that is not much explored in research. Despite the identical and well-conserved characteristics of architecture that are likely to change due to modernization and tourism accessibility to the area. This research has explored the study area, analyzed the architectural patterns in order to discuss the dynamics of Tai vernacular architecture. The field surveys set up criteria for selection of villages that continue the peasant way of life and conserve the Tai houses, while criteria for houses are according to their ages and the remain of indigenous Tai patterns. Altogether four villages and nineteen houses are surveyed and collected. The field methods were based on observations and interviews with inhabitants, leaders and key persons in the area. The results from the survey reveal some identical Tai Lue patterns along with some adopted pattems of Tai Yai and Tai Khun. Some climatic adaptation and changes due to needs and demands of households are also observable. The field survey results from this part will be analyzed in the next part of study about the patterns of Tai Vernacular Houses.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleลักษณะเฉพาะของเรือนพื้นถิ่นไทในเมืองยอง รัฐฉาน สหภาพเมียนมาร์en_US
dc.title.alternativeIdentical characteristics of Taiverna Cular Houses in Mong Yawng, Shan State, Myanmaren_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashสถาปัตยกรรมที่อยู่อาศัย-
thailis.controlvocab.thashสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น-
thailis.controlvocab.thashไทยอง-
thailis.controlvocab.thashชาวไท-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractกลุ่มไทในเมืองยองหรือเรียกสั้นๆว่า ไทยองเป็นกลุ่มไทลื้อที่อพยพมาจากสิบสองปันนามาอาศัยใน เมืองยอง รัฐฉานตะวันออก สหภาพพม่าเมื่อหลายร้อยปีก่อน โดยนำเอาแบบแผนเรือนไทลื้อมาปรับ ผสมผสานกับสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในพื้นที่ จนเกิดเป็นแบบแผนเฉพาะถิ่น งานวิจัยนี้สนใจศึกษาบ้านเรือน ไทยองเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีการศึกษาวิจัยอยู่น้อย มีลักษณะบ้านเรือนที่สะท้อนถึงสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ไทที่ยังมีความคล้ายกับเรือนไทลื้อดั้งเดิม ในขณะเดียวกันก็มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงตามกระแส สมัยใหม่ และการเปิดเมืองของเป็นพื้นที่ท่องเที่ยว จึงเป็นกรณีศึกษาสำคัญที่เติมเต็มช่องว่างความรู้ได้ งานวิจัยนี้ได้สำรวจพื้นที่ศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบของเรือนพื้นถิ่นไทยอง เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพมีกลุ่ม ตัวอย่างใน 4 บ้าน รวม 19 เรือน มีเกณฑ์การคัดเลือกชุมชนบ้านที่ยังหลงเหลือลักษณะของชุมชนไทเป็น ชุมชนเกษตรกรรมที่ยังมีองค์ประกอบวิถีสังคมวัฒนธรรมไท และมีเรือนพื้นถิ่นไทหลงเหลืออยู่ และ คัดเลือกเรือนที่มีอายุการสร้างไม่ต่ำกว่า 15 ปี มีลักษณะทางกายภาพใกล้เคียงกับวรรณกรรมเรือนไทยองที่ ได้ศึกษามา วิธีการเก็บข้อมูลใช้การสังเกตบันทึกลักษณะสถาปัตยกรรม และสัมภาษณ์ผู้อยู่อาศัยในเรือน หัวหน้าบ้านและบุคคลสำคัญในชุมชน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า บ้านเรือนพื้นถิ่นไทในเมืองของมีแบบ แผนของการตั้งถิ่นฐาน สถาปัตยกรรมตลอดจนวิถีชีวิตดั้งเดิมที่เป็นไทลื้อจากถิ่นกำเนิดที่ปรากฎชัด จาก ลักษณะรูปทรง และที่ว่างทางสถาปัตยกรรม โดยมีรูปแบบที่ผสมผสานกับไทเขิน และไทใหญ่ ไปพร้อม การปรับตัวตามสภาพแวดส้อมภูมิอากาศที่ร้อนกว่าถิ่นเดิม และการเปลี่ยนพื้นที่ใช้สอยไปตามความต้องการของครัวเรือนที่เปลี่ยนไป ทำให้มีองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อมที่เฉพาะตัว เป็น กรณีศึกษาที่ควรแก่การอนุรักษ์ในแง่ของการผสมผสานลักษณะถิ่นไทen_US
Appears in Collections:ARC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601731007 กันยารัตน์ อาทนิตย์.pdf382.55 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.