Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74002
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Kannipa Motanated | - |
dc.contributor.author | Kanagorn Itsarapong | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-24T10:20:19Z | - |
dc.date.available | 2022-08-24T10:20:19Z | - |
dc.date.issued | 2021-02 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74002 | - |
dc.description.abstract | The tectonic setting of the provenance and the paleoenvironment of deposition of the Mae Tha Formation were reconstructed based on the study of stratigraphy, petrography, and geochemistry of the clastic rocks. The ratio of quartz extinction variety suggests the source rock composition of the Mae Tha Formation is granite. The results of the Q-F-L ternary plot indicate that the tectonic setting of the provenance of the Mae Tha Formation was craton interior continental block and recycled orogen. Geochemical analysis indicates that the mud particle was derived from the continental block due to the presence of kaolinite. These results are used to infer the deposition process and paleoenvironment of the Mae Tha Formation. The Mae Tha Formation is classified into two facies base on the sedimentary texture and sand-to-shale ratio. C1 facies is medium- to coarse-grained sandstone interbedded with shale. Sand-to-shale ratio of facies C1 is 92.08:7.92. C2 facies is fine- to medium-grained sandstone interbedded with shale. The average sand-to-shale ratio of this facies is 63.06:36.94. Small scale cross-bedding and plane-bedding are found at some area. The relationship of the sedimentation period of the two facies and the stratigraphic relationship between the two facie could not be determined because both facies are cut by numerous faults. However, both facies have the same minerals composition, provenance, and similar sedimentary texture. These findings suggest that the sandstones are from the same formation but deposited in different conditions. Minerals-maturity, textural-maturity, and remaining sedimentary structure suggest that the sediment were deposited shallow-marine environment. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Stratigraphy and paleoenvironment of Mae Tha Formation, Eastern Chiang Mai Basin | en_US |
dc.title.alternative | ลำดับชั้นและสภาพแวดล้อมบรรพกาลของหมวดหินแม่ทา แอ่งเชียงใหม่ฝั่งตะวันออก | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Geology, Stratigraphic | - |
thailis.controlvocab.thash | Sedimentary rocks | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาการลำดับชั้นหิน ศิลาวรรณาและธรณีเคมีของหินสามารถบอกถึงแหล่งกำเนิดของ หินตะกอน (provenance) และสภาพแวดล้อมการสะสมตัวบรรพกาล (paleoenvironment) ของหมวดหินแม่ทา จากการศึกษาศิลาวรรณาโดยการใช้แผนภูมิสามเหลี่ยมแสดงความมืดแกว่งของแร่ควอตซ์และแผนภูมิสามเหลี่ยมระหว่างแร่ควอตซ์ แร่เฟลด์สปาร์และเศษหินพบว่าหินต้นกำเนิดของหมวดหินแม่ทาคือหินแกรนิตที่มีต้นกำเนิดบริเวณหินฐานธรณี (craton interior) และบริเวณที่มีการพัดพาหลายรอบของตะกอน (recycled orogen) ตามลำดับ การวิเคราะห์ธรณีเคมีของหินพบแร่ดินเหนียวส่วนใหญ่เป็นแร่เค-โอลิไนต์ (kaolinite) ซึ่งบ่งบอกถึงถูกพัดพามาจากทวีป จากการศึกษาข้างต้นสามารถอธิบายกระบวนการสะสมตัวและสภาพแวดล้อมบรรพกาลของหมวดหินแม่ทาได้ดังนี้ ลักษณะปรากฏของหมวดหินแม่ทาสามารถแบ่งได้เป็นสองหน่วย คือ (1) ลักษณะปรากฏหน่วยหินที่หนึ่ง (C1) เป็นหินทรายแทรกสลับกับหินดินดาน หินทรายมีเนื้อปานกลางถึงหยาบและมีอัตราส่วนระหว่างทรายกับดินเหนียวเท่ากับ 92.08:7.92 (2) ลักษณะปรากฏหน่วยหินที่สอง (C2) ประกอบด้วยหินทรายแทรกสลับกับหินดินดาน หินทรายมีเนื้อละเอียดถึงปานกลางและมีอัตราส่วนระหว่างทรายกับดินเหนียวเฉลี่ยเท่ากับ 63.06:36.94 หินแสดงโครงสร้างตะกอนแบบชั้นหินเฉียงระดับ (cross-bedding) และชั้นหินระนาบ (plane-bedding) ขนาดเล็กโดยที่ไม่สามารถระบุความสัมพันธ์ระหว่างหินทั้งสองหน่วยได้เพราะหินถูกตัดด้วยรอยเลื่อนจำนวนมาก แต่อย่างไรก็ตามหินทั้งสองหน่วยมีองค์ประกอบทางแร่และแหล่งกำเนิดตะกอนที่เหมือนกันและมีลักษณะเนื้อหินที่คล้ายคลึงกันทำให้เชื่อได้ว่าหินทั้งสองหน่วยนั้นอยู่ในหมวดเดียวกันแต่มีเงื่อนไขการสะสมตัวที่แตกต่างกัน จากข้อมูลความสมบูรณ์ของแร่ (mineral-maturity) การพัฒนาของเนื้อหิน (textural-maturity) และโครงสร้างตะกอน (sedimentary structure) บ่งชี้ว่าตะกอนถูกทับถมอยู่ในสภาพแวดล้อมแบบทะเลตื้น | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600531089 ฆนากร อิสรพงศ์.pdf | 12.43 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.