Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74001
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWeerapan Srichan-
dc.contributor.authorDao Sayyavongsaen_US
dc.date.accessioned2022-08-24T10:14:41Z-
dc.date.available2022-08-24T10:14:41Z-
dc.date.issued2021-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74001-
dc.description.abstractThe mafic igneous rocks from the south of the Mune District area, Vientiane Province, northwest of Lao PDR, is possibly a part of the central Loei sub-belt of the Loei Fold Belt in Thailand. These mafic rocks occur as shallow intrusive cover areas approximately 45 square kilometres and associated with sandstone, siltstone, and the Late Carboniferous shale to Early Permian. Based on petrographic studies, the south of Mune mafic samples show seriated texture except for sample numbers PK-2, PN-12, and PK-5, displaying porphyritic texture. They classify as gabbro and gabbronorite, mainly of plagioclase with subordinate clinopyroxene, orthopyroxene, and small amounts of opaque minerals. The plagioclase laths and clinopyroxene/orthopyroxene crystals may show disorderly orientation and ophitic/subophitic to plagioclase laths, respectively. Chemically, most representative mafic rock samples are comagmatic and show geochemical signatures analogous to MORB-type and have Zr/TiO2 and Nb/Y ranges from 0.00056 to 0.0127 and 0.1188 to 0.4481, respectively. They have typical chondrite normalized REE patterns of tholeiitic series, with (La/Yb)cn and (Sm/Yb)cn ranging from 0.94 to 3.69 and 1.11 to 1.58, respectively. The mafic igneous rocks from the south of the Mune District area have been probably formed as the major ocean basin or back-arc basin in the Late Devonian to Early Carboniferous.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titlePetrography and geochemistry of mafic igneous rocks from the South of Mune District, Vientiane Province, NW of Lao PDRen_US
dc.title.alternativeศิลาวรรณนาและธรณีเคมีของหินอัคนีสีเข้มจากบริเวณตอนใต้ของเมืองหมื่น แขวงเวียงจันทน์ ตะวันตกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshIgneous rocks -- Lao-
thailis.controlvocab.thashGeology-
thailis.controlvocab.thashRocks-
thailis.controlvocab.thashSedimentary rocks-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractหินอัคนีสีเข้มจากบริเวณพื้นที่ทางตอนใต้ของเมืองหมื่น แขวงเวียงจันทน์ ตะวันตกเฉียงเหนือของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว อาจเป็นส่วนหนึ่งของแนวตอนกลางของแนวหินคดโค้งเลย ในประเทศไทย หินอัคนีสีเข้มในบริเวณนี้เกิดในลักษณะเป็นหินอัคนีแทรกซอนระดับตื้น ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 45 ตารางกิโลเมตร และสัมพันธ์กับพวกหินตะกอนยุคคาร์บอนิเฟอรัสตอนปลายถึงเพอร์เมียนตอนต้นได้แก่หินทราย หินทรายแป้ง และหินดินดาน จากการศึกษาทางศิลาวรรณนา หินทั้งหมดแสดงผลึกหลายขนาดแบบเนื้อเรียงขนาด ประกอบด้วยแร่แพลจิโอเคลสเป็นปริมาณมาก ไคลโนไพรอกซีน ออร์โทไพรอกซีน เป็นปริมาณรองและแร่ทึบแสงบ้างเล็กน้อย แพลจิโอเคลสและผลึกไคลโนไพรอกซีนและ/หรือออโทไพรอกซีน อาจแสดงการวางตัวอย่างไม่มีระเบียบและเนื้อโอฟิติก/สับโอฟิติกที่มีแท่งเพลจิโอเคลสฝังตัวอยู่ ตามลำดับ ส่วนประกอบทางเคมี หินอัคนีสีเข้มมีต้นกำเนิดจากหินหนืดชนิดเดียวกันและแสดงลักษณะทางเคมีที่มาจากภูเขาไฟสันกลางมหาสมุทร มีค่าอัตราส่วน Zr/TiO2และNb/Y แปรเปลี่ยนจาก 0.00056 จนถึง 0.0127 และ 0.1188 จนถึง 0.4481 ตามลำดับ หินเหล่านี้มีรูปแบบของธาตุหายากที่ใช้ปริมาณธาตุหายากเปรียบเทียบกับคอนไดรต์เป็นตัวหาร แสดงลักษณะเหมือนกับหินหนืดชุดโทลิอิติก โดยมีค่า (La/Yb)cn และ(Sm/Yb)cn แปรเปลี่ยนจาก 0.94 จนถึง 3.69 และ 1.11 จนถึง 1.58 ตามลำดับ หินที่ศึกษาในพื้นที่ทางตอนใต้ของเมืองหมื่น แขวงเวียงจันทน์ ตะวันตกเฉียงเหนือของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว อาจเกิดแบบพื้นมหาสมุทรกว้างหรือแอ่งหลังแนวภูเขาไฟรูปโค้งในยุคดีโวเนียนตอนท้ายจนถึงยุคคาร์บอนิเฟอรัสตอนต้นen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600531069 ดาว ไชยะวงสา.pdf6.07 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.