Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73976
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSutthathorn Chairuangsri-
dc.contributor.authorSakonwan Kaewsomboonen_US
dc.date.accessioned2022-08-20T08:32:53Z-
dc.date.available2022-08-20T08:32:53Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73976-
dc.description.abstractCastanopsis calathiformis (Skan) Rehder & E.H.Wilson is one of indigenous tree species in the Fagaceae that was planted in 1998 in a restoration plots in a deforested area near Mae Sa Mai village, Chiang Mai, in this area there is no recorded of the tree species. Over time, C. calathiformis grew into large, healthy trees and have produced seeds into the plot. These have germinated and dense carpets of C. calathiformis seedlings and saplings have formed under the maternal trees and no other plant species can grow in those areas, which may affect the vegetation structure in the future. The objectives of this study are to (1) compare seeding populations of C. calathiformis with two other tree species in Fagaceae Family (Quercus brandisiana Kurz. and Quercus semiserrata Roxbin) within these restoration plots, (2) determine seed predation and seed dispersal around the C. calathiformis maternal trees and (3) compare distribution of C. calathiformis seedling in forest restoration sites and natural forests. The results showed that the seedling density of Q. brandisiana and Q. semiserrata was significantly lower than C. calathiformis. The density of C. calathiformis seedling declined significantly with increasing distances from the maternal trees and there was no relationship between characteristics of the maternal trees (height, DBH and crown width) and the density of C. calathiformis seedlings. The study of C. calathiformis seed dispersal and seed destruction showed that this species had high germination rate (87.01%). Only 14.1% of seed was destroyed and one third of that could germinate (germinated seed = 4.31% and non-germinated seed =9.76%) experiment no seed of C. calathiformis was removed from the plots. No seed predators were recorded by camera trap that were set up near C. calathiformis maternal tree. However, we found leopard cat (Prionailurus bengalensis) within the area. For natural forest, the result shows that seedling density of C. calathiformis in natural forest (collected data in Khunpuay Temple) was significantly lower than that in forest restoration plots and the increasing of seedling density was not related to distance from maternal trees. This study provided suggestion that planting C. calathiformis in restoration sites outside its natural habitat should be considered carefully, because it may affect vegetation structure, species diversity and efficiency of forest restoration process.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleFactors affecting distribution of castanopsis calathiformis (skan) Rehder & E.H. Wilson seedlings beneath maternal tree crowns in forest restoration plotsen_US
dc.title.alternativeปัจจัยที่มีผลต่อการกระจายตัวของต้นกล้าก่อหมูดอย (Castanopsis calathiformis (Skan) Rehder & E.H. Wilson) ภายใต้เรือนยอดต้นแม่ในพื้นที่ฟื้นฟูป่าen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashCastanopsis calathiformis-
thailis.controlvocab.thashTrees-
thailis.controlvocab.thashTrees -- Seedlings-
thailis.controlvocab.thashForests and forestry-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractก่อหมูดอย (Castanopsis calathiformis (Skan) Rehder & E.H.Wilson) เป็นไม้ยืนต้นท้องถิ่นของไทย ในวงศ์ Fagaceae ที่ปลูกในปี 2541 บริเวณแปลงฟื้นฟูป่าบ้านแม่สาใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ซึ่งในพื้นที่นี้ไม่พบก่อหมูดอยขึ้นอยู่ในธรรมชาติ เมื่อเวลาผ่านไป ก่อหมูดอยเติบโตเป็นแม่ไม้ขนาดใหญ่แข็งแรงสมบูรณ์ อีกทั้งบริเวณใต้ต้น พบต้นกล้าของก่อหมูดอยจำนวนมากกระจายตัวกันอย่างหนาแน่นและแทบไม่มีต้นกล้าหรือต้นไม้ชนิดอื่นสามารถเติบโตได้ในบริเวณนั้นซึ่งอาจส่งผลต่อโครงสร้างของสังคมพืชในพื้นที่ในอนาคต ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบการกระจายตัวของต้นกล้าก่อหมูดอยกับก่อชนิดอื่น ได้แก่ก่อสีเสียด (Quercus brandisiana Kurz.) และ ก่อตาหมูหลวง (Quercus semiserrata Roxbin) ในพื้นที่แปลงฟื้นฟูป่า (2) ประเมินการล่าเมล็ดและการแพร่กระจายของเมล็ดรอบต้นแม่ก่อหมูดอย และ (3) เปรียบเทียบการกระจายของกล้าไม้ก่อหมูดอยในพื้นที่แปลงฟื้นฟูป่าปี 2541 และป่าธรรมชาติที่มีต้นก่อหมูดอยเป็นไม้ท้องถิ่น จากผลการศึกษาพบว่าความหนาแน่นของต้นกล้าก่อสีเสียดและก่อตาหมูหลวงใต้ต้นแม่ ต่ำกว่าความหนาแน่นของต้นกล้าก่อหมูดอยอย่างมีนัยสำคัญ และความหนาแน่นของต้นกล้าก่อหมูดอยใต้ต้นแม่ ที่ระยะห่างจากต้นแม่ 3 ระยะคือ 0 – 5 เมตร, 5 – 10 เมตร, 10 – 15 เมตร มีแตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญ โดยความหนาแน่นจะลดลงตามระยะห่างที่เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้เมื่อดูความสัมพันธ์ระหว่างความหนาแน่นของต้นกล้าก่อหมูดอยกับลักษณะทางกายภาพของต้นแม่ พบว่าความหนาแน่นของต้นกล้าก่อหมูดอยไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างความสูง เส้นผ่าศูนย์กลางระดับอก ความกว้างทรงพุ่ม ส่วนการศึกษาการล่าเมล็ดและการกระจายตัวของเมล็ดก่อหมูดอย พบว่าอัตราการงอกของเมล็ดก่อหมูดอยในพื้นที่อยู่ที่ 87.01% และอัตราการถูกทำลายของเมล็ดอยู่ที่ 14.1% โดยหนึ่งในสามของเมล็ดที่ถูกทำลายยังสามารถงอกได้ (เมล็ดที่ถูกทำลายและงอก = 4.31% เมล็ดที่ถูกทำลายและไม่งอก =9.76%) สำหรับการทดลองการล่าเมล็ดไม่พบว่ามีการนำเมล็ดก่อหมูดอยออกจากพื้นที่ที่กำหนดไว้ และจากการตั้งกล้อง camera trap ไม่พบสัตว์ที่เป็นผู้ล่าเมล็ดเข้ามากินเมล็ด แต่พบภาพแมวดาว (Prionailurus bengalensis) ในบริเวณพื้นที่แปลงฟื้นฟู และสำหรับการศึกษากล้าไม้ก่อหมูดอยในป่าธรรมชาติ (บริเวณวัดขุนป๋วย) พบว่า ความหนาแน่นของกล้าไม้ก่อหมูดอยต่ำกว่าในแปลงฟื้นฟูอย่างมีนัยสำคัญ และการเพิ่มความหนาแน่นของกล้าไม้ก่อหมูดอยในป่าธรรมชาติ ไม่สัมพันธ์กับระยะห่างจากต้นแม่ ซึ่งแตกต่างกับการกระจายตัวของต้นกล้าก่อหมูดอยที่พบบริเวณแปลงฟื้นฟูป่า การศึกษานี้ให้ข้อเสนอแนะว่าการปลูกก่อหมูดอยนอกพื้นที่ที่พบตามธรรมชาติควรพิจารณาอย่างรอบคอบเพราะอาจส่งผลต่อโครงสร้างของสังคมพืชความหลากหลายของชนิดพันธุ์ในการฟื้นฟูป่าอย่างมีประสิทธิภาพen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesis_Sakonwan_watermark_signed_final.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.