Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73959
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุพรรณ ทองคล้อย | - |
dc.contributor.author | ขจรวรรณกร เขจรจิรประดิษฐ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-20T05:58:52Z | - |
dc.date.available | 2022-08-20T05:58:52Z | - |
dc.date.issued | 2565-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73959 | - |
dc.description.abstract | This study attempts to investigate the masculinity, both in form and presentation, of fifteen stories in ’Rong Wongsawan’s Novels from 1960 – 1992. According to the study, the masculinity present in the novel is dynamic, it is able to vary with historical time and social context. The period shown in the novel relates to the period of the transition of Thai society to modernity, under the concept of 'Development', supported by the US government. The development resulted in new infrastructures, transport systems and roads for the countryside. These changes have narrowed the strait between the 'rural' and 'urban', forcing male rural residents to migrate and turn into urban workers. As a result, these men have lost their identity by going through a crisis of masculinity. The method of negotiating and countering the crisis of masculinity was presented through by consumerism. From the study, the representation of masculinity shows the binary oppositions: the rural masculinity/the urban masculinity, macho man/beta man, hyper-masculinity/hypo-masculinity, or rural gangster/urban gangster. However, there are also some representations of masculinity that violate the normative masculinity in Thai society, such as pimps, Mang bars and male prostitutes. The transition to spatial modernity in the era. This 'Americanization' directly affects the transformation of masculinity through narratives. Although the masculinity that appears in the novels is not a perfect representation of masculinity by nature, it is a proof of the assumption that “Gender is a social construct” | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ความเป็นชาย | en_US |
dc.subject | ความเป็นชนบท | en_US |
dc.subject | ความเป็นเมือง | en_US |
dc.subject | กลวิธีการนำเสนอ | en_US |
dc.subject | ’รงค์ วงษ์สวรรค์ | en_US |
dc.title | ความเป็นชายในนวนิยายของ ’รงค์ วงษ์สวรรค์ | en_US |
dc.title.alternative | Masculinity in ่Rong Wongsawan's novels | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | รงค์ วงษ์สวรรค์ | - |
thailis.controlvocab.thash | ความเป็นชาย | - |
thailis.controlvocab.thash | บุรุษ | - |
thailis.controlvocab.thash | นวนิยายไทย -- ประวัติและวิจารณ์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาวิเคราะห์ความเป็นชายในนวนิยายของ ’รงค์ วงษ์สวรรค์ จำนวนทั้งสิ้น 15 เรื่อง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 ถึง ปี พ.ศ. 2535 ทั้งในด้านรูปแบบและการนำเสนอ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ความเป็นชายที่ปรากฏในนวนิยายมีพลวัต สามารถแปรเปลี่ยนได้ตามช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ และปริบททางสังคม ช่วงเวลาที่ปรากฏในนวนิยายสัมพันธ์เชื่อมโยงกับช่วงเวลาของการเปลี่ยนแปลงสังคมไทยสู่ความเป็นสมัยใหม่ภายใต้แนวคิด ‘การพัฒนา’ ที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลสหรัฐฯ เกิดระบบสาธารณูประโภค ระบบการคมนาคม และการตัดถนนสู่ชนบท มิติใหม่ซึ่งเกิดขึ้นคือช่องแคบนั้นลดลง ระหว่าง ‘ชนบท’ และ ‘เมือง’ ปรากฏการณ์ดังกล่าวทำให้ชาวชนบทต้องอพยพถิ่นฐานและผันตัวมาเป็นแรงงานในมหานคร ส่งผลให้ตัวตนและอัตลักษณ์ความเป็นชายแปรเปลี่ยน กลายเป็นคนไร้ราก และสูญเสียอัตลักษณ์ นำมาสู่วิกฤตอัตลักษณ์ความเป็นชาย ทั้งนี้วิธีการต่อรองและโต้กลับวิกฤตการณ์ดังกล่าวได้ถูกนำเสนอผ่านกระบวนบริโภคสินค้าของผู้ชายในสังคมเมืองแบบสมัยใหม่ กลวิธีการนำเสนอภาพความเป็นชายที่ปรากฏในนวนิยายของ ’รงค์ วงษ์สวรรค์ มีลักษณะเป็นคู่ตรงข้ามระหว่าง ความเป็นชายแบบชนบท/ความเป็นชายแบบเมือง ความเป็นชายดุดัน/ความเป็นชายอ่อนโยน นักเลงชนบท/นักเลงเมือง นอกจากนี้ยังปรากฏภาพเสนอความเป็นชายซึ่งละเมิดต่อระบบคุณค่าความเป็นชายตามปทัสถานของสังคมไทย อาทิ แมงดา แมงบาร์ และโสเภณีชาย การเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็นสมัยใหม่เชิงพื้นที่ในยุค ‘อเมริกันนุวัตร’ นี้ ส่งผลต่อการแปรเปลี่ยนความเป็นชายผ่านเรื่องเล่าโดยตรง อย่างไรก็ดี ความเป็นชายที่ปรากฏในนวนิยาย แม้จะมิได้เป็นสิ่งสมบูรณ์แห่งความเป็นชายโดยดุษณี อย่างน้อยก็เป็นเครื่องค้ำยันต่อสมมตฐานว่า “เพศสถานะเป็นสิ่งประกอบสร้างอย่างหนึ่งของสังคม” | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ขจรวรรณกร เขจรจิรประดิษฐ ลายน้ำ.pdf | 2.8 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.