Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73949
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชนีกร ทองสุขดี-
dc.contributor.authorภัตตินันท์ สายนาคen_US
dc.date.accessioned2022-08-20T04:12:26Z-
dc.date.available2022-08-20T04:12:26Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73949-
dc.description.abstractThis research aimed to examine the state of special education supervising processes, barriers and describe suggestions for supervising processes in Chiang Mai inclusive model schools which was the mixed methods research. There were 87 participants including supervisors, school directors, and special education teachers. Research tools used included (1) a questionnaire and (2) focus group. Data were collected between August-November 2021. Analyzed research data was reported using frequencies, percentages, mean, standard deviation and content analysis. The study results showed that: (1) the state of all five special education supervising processes was complied with at a high rate (x ̅= 1.56 – 1.60). However, the supervisors rated the action taken on two areas of the supervising process at low level, which included (1) operational planning procedures (x ̅=1.24) and (2) implementation of recommendations from evaluation and publicized results (x ̅=1.28). The school directors rated the action taken on the area of implementation of recommendations from evaluation and publicized results at low level (x ̅=1.31). This was in contrast to teachers who rated the actions taken on all five areas of the procedures at high level (x ̅=1.60). Overall, the study findings on the barriers to adherence of prescribed processes in special education supervision were rated at high level (x ̅=2.50). However, both the school directors and special education teachers rated the barriers at moderate level (x ̅=1.82 1.73), respectively. With respect to special education supervising process, the directors indicated that development activities should focused on students through teachers. Supervisors also stated that the development activities should be comprehensive and collaborative in nature. In addition, teachers need to be supervised by external agencies or experts who can ensure that they can apply and adjust knowledge acquired from development activities so that each individual student with special needs accrue the maximum benefit possible.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleกระบวนการนิเทศทางการศึกษาพิเศษของโรงเรียนต้นแบบการเรียนรวมในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeSupervisory process in special education at inclusive model schools in Chiang Mai provinceen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาพิเศษ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashศึกษานิเทศก์ -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ อุปสรรคและข้อเสนอแนะในกระบวนการนิเทศทางการศึกษาพิเศษของโรงเรียนต้นแบบการเรียนรวมในจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มเป้าหมายทั้งสิ้น 87 คน ได้แก่ ศึกษานิเทศก์ ผู้อำนวยการโรงเรียนและครูการศึกษาพิเศษ เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ 1) แบบสอบถาม และ 2) แบบสนทนากลุ่ม การเก็บข้อมูลระหว่างเดือนสิงหาคม - พฤศจิกายน พ.ศ.2564 การวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพกระบวนการนิเทศทางการศึกษาพิเศษของโรงเรียนต้นแบบการเรียนรวม โดยภาพรวมพบว่า มีการปฏิบัติในระดับมาก (x ̅ = 1.56 – 1.60) ส่วนใหญ่พบว่าศึกษานิเทศก์มีการปฏิบัติในระดับน้อย ใน 2 ขั้นตอน คือ 1. การวางแผนการดำเนินงาน (x ̅=1.24) และ 2. การนำผลการประเมินมาปรับปรุงแก้ไขและเผยแพร่ (x ̅=1.28) ส่วนผู้อำนวยการโรงเรียน พบว่ามีระดับการปฏิบัติในระดับน้อย 1 ขั้นตอน คือ การนำผลการประเมินมาปรับปรุงแก้ไขและเผยแพร่ (x ̅=1.31) และในส่วนของครูการศึกษาพิเศษพบว่ามีการปฏิบัติในระดับมากทุกขั้นตอน (x ̅=1.60) 2) อุปสรรคในกระบวนการนิเทศทางการศึกษาพิเศษของศึกษานิเทศก์พบว่า อยู่ในระดับมาก (x ̅=2.50) ส่วนผู้อำนวยการโรงเรียนและครูการศึกษาพิเศษพบว่า อยู่ในระดับปานกลาง (x ̅=1.82) และ (x ̅=1.73) ตามลำดับ 3) แนวทางพัฒนากระบวนการนิเทศทางการศึกษาพิเศษ ในส่วนผู้อำนวยการโรงเรียน พบว่า ควรเน้นการพัฒนาที่ผู้เรียนโดยตรงผ่านครูการศึกษาพิเศษ และในส่วนศึกษานิเทศก์ พบว่า ต้องทำความเข้าใจและควรทำงานร่วมกันทุกภาคส่วน อีกทั้งครูการศึกษาพิเศษมีความต้องการรับการนิเทศจากหน่วยงานภายนอกมาแนะแนวทางการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง เพื่อให้ครูนำไปปรับปรุงและพัฒนาให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษen_US
Appears in Collections:EDU: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.