Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73925
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.advisorจารุณี ทิพยมณฑล-
dc.contributor.authorรัตติกร ชาญชำนิen_US
dc.date.accessioned2022-08-19T00:55:35Z-
dc.date.available2022-08-19T00:55:35Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73925-
dc.description.abstractThis study aims to study as follow, 1) to study the management approach Digital Task-Based Learning Innovation in Social Studies to Promote Productive Citizenship of Secondary School Students. 2) to study the design a management Digital Task-Based Learning Innovation in Social Studies to Promote Productive Citizenship of Secondary School Students. And 3) to study the effect of use implementing the management to Digital Task-Based Learning Innovation in Social Studies to Promote Productive Citizenship of Secondary School Students. The target audience is Secondary School Students Grade 1 student at Regina Coeli College Chiang Mai. Total population in this study were 139 students. And experts with teaching experience management of social studies and in terms of measurement and evaluation. The research tools were lesson plans, questionnaires, and content analysis of frequency values. Research results are as follow: 1) the learning management approach consisted of 4 steps; 1) Pre-Task (P) 2) Task- Cycle (T) 3) Pots-Task (P) 4) Digital (D). According to the teaching and learning plan “PTPD Process”(Digital Task-Based Learning Innovation in Social Studies to Promote Productive Citizenship of Secondary School Students. 2) The results of the design of the learning management plan consisted of 3units, totaling 12 hours, as follows: Unit 1 Introduction to Economics. Unit 2Consumption Behavior and learning. Unit 3 on Financial Institutions 3) to study the effect of use implementing the management to Digital Task-Based Learning Innovation in Social Studies to Promote Productive Citizenship The researchers set the criteria for evaluating the expected learning outcomes. and productive citizenship attributes 4 components: 1) Analytical Thinking 2) Creative Thinking 3) Productive Thinking 4) Responsible Thinking. The results showed that most opinion of the questionnaire on the satisfaction of the students with the learning plan activities to Digital Task-Based Learning Innovation in Social Studies to Promote Productive Citizenship most of the have a good level of satisfaction to mean (X) = 3.45, Especially in terms of content, They are the most satisfied. (X) = 3.52, Organizing learning activities (X) = 3.46, Terms of creating pieces and Task-based Learning (X) = 3.41 And Evaluation (X) = 3.41.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleนวัตกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาฐานภาระงานดิจิทัลเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองผลิตภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาen_US
dc.title.alternativeDigital task-based learning innovation in social studies to promote productive citizenship of secondary school studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashสังคมศึกษา -- การศึกษาและการสอน-
thailis.controlvocab.thashนักเรียนมัธยมศึกษา -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashนวัตกรรมทางการศึกษา-
thailis.controlvocab.thashการเรียนรู้-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา 1) เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาฐานภาระงานดิจิทัล เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองผลิตภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา 2) เพื่อออกแบบแผนการจัดดการเรียนรู้สังคมศึกษาฐานภาระงานดิจิทัล เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองผลิตภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาฐานภาระงานดิจิทัล เพื่อส่งเสริมทักษะและคุณลักษณะความเป็นพลเมืองผลิตภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โดยใช้รูปแบบการวิจัยและพัฒนา กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย เชียงใหม่ จำนวน 139 คน และผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับการด้านการสอน จัดการเรียนรู้สังคมศึกษา และด้านการวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการสอน แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาค่าความถี่ ผลการศึกษาพบว่า 1) แนวทางการจัดการเรียนรู้มี 4 ขั้นตอน 1) ขั้นเตรียมงานปฏิบัติ (Pre-Task : P) 2) ขั้นระหว่างการปฏิบัติงาน (Task- Cycle :T ) 3) ขั้นหลังการปฏิบัติภาระงาน (Pots-Task : P) 4) ขั้นการสื่อสารดิจิทัล (Digital : D) ตามแผนจัดการเรียนการสอน “PTPD Process” 2) ผลการออกแบบแผนจัดการเรียนรู้มี จำนวน 3 หน่วยการเรียนรู้ รวมทั้งหมด 12 ชั่วโมง ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องพฤติกรรมการบริโภค และหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องสถาบันการเงิน 3) ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมทักษะและคุณลักษณะความเป็นพลเมืองผลิตภาพ ผู้วิจัยกำหนดเกณฑ์ประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เพื่อการส่งเสริมทักษะ และคุณลักษณะความเป็นผลเมืองผลิตภาพ 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านการคิดวิเคราะห์ 2) ด้านการคิดสร้างสรรค์ 3) ด้านการคิดผลิตภาพ 4) ด้านการคิดรับผิดชอบ จากการสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนต่อนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาฐานภาระงานดิจิทัล เพื่อส่งเสริมทักษะความเป็นพลเมืองผลิตภาพ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย(X) = 3.45 โดยเฉพาะด้านเนื้อหามีความพึงพอใจมากที่สุด (X) = 3.52 ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (X) = 3.46 ด้านการสร้างชิ้นงาน และภาระงาน (X) = 3.41 และด้านการวัดผลประเมินผล (X) = 3.41en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
รวมไฟล์ ลงลายน้ำ.pdf3.3 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.