Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73891
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรพัฒน์ วาณิชวัฒนะโกศล-
dc.contributor.advisorอติชาต หาญชาญชัย-
dc.contributor.authorสุนัตตา หวานชะเอมen_US
dc.date.accessioned2022-08-16T15:12:02Z-
dc.date.available2022-08-16T15:12:02Z-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73891-
dc.description.abstractThe aims of this thesis were (1) to analyze work context and identify an inefficient transportation management problems (2) to analyze and knowledge synthesis by using a knowledge engineering (3) to develop information management system for ISO 39001: 2012 (4) applying system and evaluation of ISO 39001: 2012 (Road Traffic Safety: RTS) is a standard for Road Traffic Safety Management System which consisting of driver, vehicle and route to prevent or reduce the potential loss of life and property. From the preliminary case study on data found that aceident statistics of the company occurred in every past year. The poor operation and lack of integration will lead to inefficient knowledge of work. The framework of Information System Development for Road Safety Management was designed into four phases. Semi-structured interviews and document analysis will use to validate the knowledge and identify the problem area by using a Fishbone diagram. Create the knowledge models follows the methodology of knowledge engineering accordance with ISO 39001: 2012 and design requirement frame to develop information system management then performance testing with Acceptance test and use the performance appraise form to measuring the customer satisfaction. It uses of System Usability combined with Focus Group for system presentation. The results of the first step found that the company analyzed data on difference database. It is one of the main causes of information system problem. The structure of the company and work process were acquired by using a knowledge model. The knowledge synthesis consisted of task knowledge, inference knowledge and domain knowledge in accordance with ISO 39001:2012, Road Traffic Safety (RTS) Management Systems Article 7. the system works as three tier that meet the need of users. For example, such as the number of employees' daily graph, and daily breakdown car report. A relational database was adjusted in a normative form and displayed the results The last part is the use of the system and evaluation. The test found that the system was able to responds to the needs of the user and the results of the system performance assessment was found to be quite satisfied with the system's performance and the evaluation of user satisfaction, it was considered to be at an acceptable level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านความปลอดภัยการเดินรถen_US
dc.title.alternativeDevelopment of management information system for road safety managementen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ-
thailis.controlvocab.thashความปลอดภัยในท้องถนน-
thailis.controlvocab.thashจราจร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์บริบทของการทำงาน และระบุปัญหาการจัดการ เดินรที่ขาดประสิทธิภาพ 2) เพื่อวิเคราะห์ และสังเคราะห์ความรู้โดยวิธีการวิศวกรรมความรู้ 3) เพื่อ พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ มาตรฐาน ISO 3900: 2012 4) เพื่อการประยุกด์ใช้ระบบ และ การประเมินผล มาตรฐาน ISO 39001: 2012 (Road Traffic Safety: RTS) เป็นมาตรฐานระบบจัดการ ความปลอดภัยด้านจราจรทางถนน ซึ่งประกอบด้วย คนขับ ยานพาหนะและเส้นทาง เพื่อลดการ สูญเสียที่อาจเกิดขึ้นทั้งจากชีวิตและทรัพย์สิน จากข้อมูลเบื้องต้นของกรณีศึกษาพบว่าข้อมูลสถิติการ เกิดอุบัติเหตุของบริษัทเกิดขึ้นในทุกปีที่ผ่านมา การดำเนินการที่ผิดพลาดและขาดการบูรณาการ นำไปสู่การขาดประสิทธิภาพ และองค์ความรู้ในการทำงาน กรอบการทำงานของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านความปลอดภัยสำหรับการเดินรถ ได้รับการออกแบบเป็นสี่ขั้นตอนหลัก การสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างและการวิเตราะห์เอกสารถูกใช้เพื่อ ตรวจสอบความรู้และระบุขอบเขตของปัญหาหลักด้วยแผนผังก้างปลา ดำเนินการสกัดและวิเคราะห์ ความรู้เพื่อสร้างโมเดลความรู้โดยใช้วิธีการทางวิศวกรรมความรู้ตามมาตรฐานข้อกำหนดของ ISO 3900 1: 2012 และการออกแบบกรอบความต้องการ เพื่อนำไปพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ จากนั้นจึงทดสอบประสิทธิภาพของระบบด้วย Aceptance test และใช้แบบประเมินประสิทธิภาพ ของระบบ ในรื่องของการวัดระดับความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบ จะใช้ System Usability Scale ควบคู่ไปกับการทำ Focus group ในการนำเสนอระบบ ผลการศึกษาในขั้นตอนแรกพบว่าการดำนินการของบริษัทมีการวิเคราะห์ข้อมูลที่มาจาก ฐานข้อมูลที่แตกด่างกัน ซึ่งระบบสารสนเทศเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดปัญหา และการสร้างโมเดล ความรู้ทำให้ทราบถึงโครงสร้างของบริษัท และกระบวนการทำงานหลัก ในการสังเคราะห์ความรู้ ประกอบด้วย ความรู้ระดับภาระงาน ความรู้ระดับความคิด และความรู้ในเรื่องเฉพาะปัญหา ซึ่ง สอดคล้องกับมาตรฐาน IS039001:2012 การจัดการความปลอดภัยทางถนน ข้อที่ 7 การทำงานของ ระบบเป็นแบบ 3 เทียร์ ซึ่งตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน เช่น เมื่อต้องการดูกราฟของจำบวน พนักงานที่มาทำงานเป็นรายวัน และต้องการทราบรายงานรถเสียประจำวัน โดยฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ที่ผ่านการปรับให้อยู่ในรูปแบบบรรทัดฐานแล้วนำไปแสดงผล ในส่วนสุดท้ายคือการใช้งานระบบ และประเมินผล จากการทดสอบพบว่า ระบบสามารถทำงานได้กรบตามความต้องการของผู้ใช้งาน และผลของแบบประเมินประสิทธิภาพของระบบพบว่าค่อนข้างพึงพอใจกับประสิทธิภาพของระบบ และจากการประเมินความพึงพอใจในการใช้งานถือว่าผ่านเกณฑ์ และอยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้en_US
Appears in Collections:CAMT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
612131007 สุนัตตา หวานชะเอม.pdf8.99 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.