Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73882
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชนีกร ทองสุขดี-
dc.contributor.authorภคิณี แดงปะละen_US
dc.date.accessioned2022-08-16T10:16:53Z-
dc.date.available2022-08-16T10:16:53Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73882-
dc.description.abstractThe purpose of this mixed methods research study was to examine the utilization of four different paraprofessional collaborative team models in early intervention for individuals with multiple disabilities at the Chiang Rai Special Education Center. A total of 39 participants included parents, special education teachers, occupational therapists, physical therapists, and a Thai traditional medicine specialist. Research instruments consisted of a questionnaire and a focus group form. Data were collected between May-October 2021. The study results were analyzed and reported using frequencies, percentages, means, standard deviation, and content analysis. The research revealed that: (1) Of the four collaborative team models, about 44.44% of the participants indicated that they utilized the Interdisciplinary Team Model at work, while 41.67% preferred to use the Multidisciplinary Team Model. (2)The professional participants in the study followed all seven step processes of early intervention when providing services to individuals with multiple disabilities. Overall, the practice of early intervention service was rated as high. The highest rated practice steps by 75 percent of the participants were step 5 (or providing appropriate activities) and step six (or progress evaluation), while the lowest rated practice by 52.78 percent was step three (or the assessment).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectรูปแบบการทำงานเป็นทีมen_US
dc.subjectการให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มen_US
dc.subjectนักสหวิชาชีพen_US
dc.subjectบุคคลพิการซ้อนen_US
dc.subjectศูนย์การศึกษาพิเศษen_US
dc.titleรูปแบบการทำงานร่วมกันเป็นทีมของนักสหวิชาชีพในการให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มสำหรับบุคลลพิการซ้อนของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeParaprofessional collaborative team models in early intervention for individuals with multiple disabilities at the Chiang Rai Special Education Centeren_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashคนพิการ -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashคนพิการ -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashคนพิการ -- การฟื้นฟูสมรรถภาพ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงแบบผสมผสาน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการทำงานร่วมกันเป็นทีมของนักสหวิชาชีพ 4 รูปแบบในการให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มสำหรับบุคคลพิการซ้อนของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดเชียงราย กลุ่มเป้าหมายรวมทั้งสิ้น 39 คน ได้แก่ ผู้ปกครอง ครูการศึกษาพิเศษ นักกิจกรรมบำบัด นักกาพภาพบำบัด และนักแพทย์แผนไทย เครื่องมือวิจัยได้แก่ 1) แบบสอบถาม และ 2) แบบสนทนากลุ่ม การเก็บข้อมูลอยู่ในช่วงเดือน พฤษภาคม – ตุลาคม พ.ศ. 2564 การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) นักสหวิชาชีพทำงานเป็นทีมในรูปแบบที่ 2 Interdisciplinary Team คิดเป็นร้อยละ 44.44 รองลงมารูปแบบที่ 3 Transdisciplinary Team คิดเป็นร้อยละ 41.67 (2) นักสหวิชาชีพให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มสำหรับบุคคลพิการซ้อนทั้ง 7 ขั้นตอนอยู่ในระดับการปฏิบัติมาก โดยขั้นตอนที่ 5 และขั้นตอนที่ 6 การให้บริการด้วยกิจกรรมที่เหมาะสมและการประเมินความก้าวหน้า ปฏิบัติมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 75 เท่ากัน และขั้นตอนที่ 3 การประเมินความสามารถขั้นพื้นฐานปฏิบัติมากน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 52.78en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
บท1-5-ภคินี-submit-3ส.ค.65-ลายน้ำ.pdf6.37 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.