Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73865
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิรุต ผุสดี-
dc.contributor.authorพงศรัณญ์ ฉิมศิริen_US
dc.date.accessioned2022-08-15T12:18:34Z-
dc.date.available2022-08-15T12:18:34Z-
dc.date.issued2021-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73865-
dc.description.abstractFor patients who suffer from iron overload, it is essential to monitor iron level in the body as too much iron can be lethal if not timely treated. Transferrin saturation is one of many biomarkers that can be used to determine iron overload condition from concentration of its 2 main forms: ion-free transferrin (apo transferrin: Apo-Tf) and saturated iron-bound transferrin (diferric transferrin: Diferric-Tf). In this thesis, detections of Apo-Tf and Diferric-Tf were performed using capacitively coupled contactless conductivity detection (C4D) in order to study the feasibility of separating the 2 forms of transferrin using microfluidic electrophoretic device. The 200 μm width, 30 μm height and 7 cm separation length microchannel device was fabricated as a cross shape for pinched injection sample introduction. Applied voltages in each reservoir for designed electric field strength in driving sample with generated electroosmotic flow were determined using COMSOL Multiphysics program. When performing C4D detection with 950 kHz excitation signal and 10,000 V/m separation electric field strength to drive Apo-Tf and Diferric-Tf separately, it was found that the average peak positions of Apo-Tf and Diferric-Tf were 144.634 s and 153.011s, respectively. However, when perform electrophoretic separation of mixture of both forms, only one peak was detected at 147.568 s. The single peak detection could be due to band broadening resulting in inseparable of 2 transferrin forms. To minimized band broadening effect, further study of the effect of electric field strength on Joule heating in microfluidic device is needed.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการตรวจวัดทรานสเฟอรินด้วยเทคนิคการวัดสภาพนาไฟฟ้าแบบคู่ควบด้วยตัวเก็บประจุชนิดไร้สัมผัสในอุปกรณ์ไมโครฟลูอิดิกส์อิเล็กโตรโฟรีซิสเพื่อประยุกต์ใช้ในการคัดกรองภาวะเหล็กเกินen_US
dc.title.alternativeDetection of transferrin using capacitively coupled contactless conductivity detection in Microfluidic Electrophoretic Device for iron overload screening applicationen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashของไหลจุลภาค-
thailis.controlvocab.thashอุปกรณ์วัดของไหลจุลภาค-
thailis.controlvocab.thashสนามไฟฟ้า-
thailis.controlvocab.thashฟิสิกส์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในผู้ป่วยที่มีภาวะเหล็กเกิน มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ป่วยเหล่านี้ต้องทราบถึงระดับธาตุเหล็กในร่างกายที่อาจสูงเกินไปและเป็นอันตรายถึงชีวิตหากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ค่าความอิ่มตัวของโปรตีนทรานสเฟอรินถือเป็นตัวชี้วัดทางชีวภาพตัวหนึ่งที่สามารถใช้บอกถึงระดับปริมาณของธาตุเหล็กในร่างกายได้ โดยต้องทราบถึงความเข้มข้นของโปรตีนทรานสเฟอรินซึ่งมีอยู่ 2 รูปแบบหลัก คือ รูปแบบที่ไม่จับกับอะตอมของธาตุเหล็ก (Apo-Tf) และรูปแบบที่จับกับอะตอมของธาตุเหล็กแบบอิ่มตัว (Diferric-Tf) ในวิทยานิพนธ์นี้ ได้ทาการทดลองตรวจวัดโปรตีนทรานสเฟอรินทั้ง 2 รูปแบบดังกล่าว ด้วยเทคนิคการวัดสภาพนำไฟฟ้าแบบคู่ควบด้วยตัวเก็บประจุชนิดไร้สัมผัส (Capacitively Coupled Contactless Conductivity Detection: C4D) เพื่อศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการแยกออกจากกันของโปรตีนทั้ง 2 รูปแบบด้วยหลักการอิเล็กโตรโฟรีซิสด้วยอุปกรณ์ไมโครฟลูอิดิกส์ โดยสร้างท่อการไหลรูปแบบกากบาทสำหรับการนำสารตัวอย่างเข้าสู่ท่อการไหลด้วยวิธีการบีบ ท่อการไหลระดับจุลภาคมีความกว้าง 200 μm และสูง 30 μm โดยมีความยาวท่อในส่วนที่ใช้แยกสาร 7 cm ในการหาค่าศักย์ไฟฟ้าสำหรับขับเคลื่อนสารด้วยการไหลแบบอิเล็กโตรออสโมซิส ได้ใช้โปรแกรม COMSOL Multiphysics คานวณหาค่าศักย์ไฟฟ้าที่ต้องให้กับแต่ละแหล่งกักเก็บ เพื่อให้ได้ค่าความเข้มสนามไฟฟ้าที่ต้องการ จากการตรวจวัดด้วยเทคนิค C4D โดยใช้ความถี่ของสัญญาณตรวจวัด 950 kHz เมื่อให้สนามไฟฟ้าในท่อแยกสารของขั้นตอนแยกสารที่ความเข้ม 10,000 V/m กับ Apo-Tf และ Diferric-Tf แยกกัน พบว่า ตาแหน่งยอดสัญญาณที่ตรวจวัดได้มีค่าเฉลี่ยเป็น 144.634 s และ 153.011 s ตามลำดับ แต่เมื่อนำโปรตีนทั้งสองมาผสมกันพบสัญญาณตรวจวัดเพียงยอดเดียวที่เวลา 147.568 s การตรวจวัดได้เพียงยอดเดียวอาจเป็นผลจากการขยายตัวของแถบโปรตีนทรานสเฟอรินจึงทาให้สารทั้งสองไม่สามารถแยกออกจากกันได้ เพื่อลดการขยายตัวของแถบโปรตีนให้น้อยที่สุด จาเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติมถึงผลของความเข้มสนามไฟฟ้าที่มีต่อความร้อนที่เกิดขึ้นเนื่องจากการไหลของกระแสไฟฟ้าในอุปกรณ์ไมโครฟลูอิดิกส์en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590531040 พงศรัณญ์ ฉิมศิริ.pdf4.45 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.