Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73864
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจตุพล คำปวนสาย-
dc.contributor.authorมณีสวรรค์ แดนสวรรค์en_US
dc.date.accessioned2022-08-15T12:08:43Z-
dc.date.available2022-08-15T12:08:43Z-
dc.date.issued2020-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73864-
dc.description.abstractRice (Oryza sativa L.) varieties cultivated widely in Thailand were developed to be suitable for agriculture and trading. They are at risk for inbreeding depression scenario due to frequent breeding of close relative cultivars. Finding of new genetic stock become an important process for future rice breeding. This research aimed to reveal genetic diversity and evolutionary relationship among 20 highland rice landraces in northern Thailand and 5 commercial varieties. Fragment analysis of 28 highly variable simple sequence repeat (HvSSR) markers using realtime PCR technique together with genetic distance analysis had reveals that studied rice varieties could be separated into 2 groups. The first group consisted of 9 highland landraces i.e. Buephopri, Lueang Lisu, Buephobo, Buepamae, Bueso, Blela, Buemue Maela, Buechepre Maeridpakae, Buepololekha , which clustered with 5 commercial rice of Thailand. The other 11 landraces i.e. Chanonue, Khao Musser, Chanomeoi, Chabebe, Buephato Nongkhiaw, Buetola Nongkhiaw, Buetolaso Sobkhong, Bueikae Sobkhong, Chatepui Huaylannai, Chachikui Huaylannai, Deang Musser formed the second group. This second group exhibited significant different genetic structure (p<0.05) from the first one and could be selected as a new genetic resource for further rice development and breeding.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความหลากหลายและความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของสายพันธุ์ข้าวพื้นที่สูง โดยการวิเคราะห์ด้วยเครื่องหมายเอสเอสอาร์ที่มีความแปรผันสูงen_US
dc.title.alternativeGenetic diversity and relationship of highland rice varieties by highly variable SSR marker analysisen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashข้าว -- พันธุ์-
thailis.controlvocab.thashข้าว -- ความผันแปร-
thailis.controlvocab.thashความผันแปร (ชีววิทยา)-
thailis.controlvocab.thashพันธุกรรม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractสายพันธุ์ของข้าว (Oryza sativa L.) ที่นิยมเพาะปลูกในประเทศไทยถูกพัฒนาขึ้นเพื่อการ เกษตรกรรมและการค้า ซึ่งอาจมีความเสี่ยงต่อการเสื่อมถอยของลักษณะที่ต้องการเนื่องจากการผสม กันในหมู่สายเลือดชิดอยู่บ่อยครั้ง การค้นหาแหล่งพันธุกรรมใหม่จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งใน กระบวนการปรับปรุงพันธุ์ข้าว งานวิจัยนี้จึงมุ่งหวังที่จะศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมและ ความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการของข้าวพื้นที่สูงที่พบในภาคเหนือของประเทศไทยจำนวน 20 สายพันธุ์ และข้าวพันธุ์การค้าจำนวน 5 สายพันธุ์ จากการตรวจสอบความผันแปรของเครื่องหมายเอสเอสอาร์ จำนวน 28 ตำแหน่งด้วยเทคนิคเรียลไทม์พีซีอาร์และวิเคราะห์ระยะห่างทางพันธุกรรม พบว่าสามารถ แยกสายพันธุ์ข้าวที่ศึกษาออกได้เป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ประกอบด้วยข้าวพื้นที่สูง 9 สายพันธุ์ ได้แก่ บือ พอปรี เหลืองลีซอ บือพอบอ บือปะแหมะ บือโซ เบล้ละ บือหมื่อแม่ละ บือเจ๊ะเปร๊ะแม่ริดป่าแก่ บื อปอลอเลคะ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมใกล้ชิดกับข้าวพันธุ์การค้า กลุ่มที่ 2 ประกอบด้วยข้าวที่สูง 11 สายพันธุ์ ได้แก่ จ่านอนือ ขาวมูเซอ จะนอเหมย จะเบ๊ะเบ๊ะ บือพะทอหนอง เขียว บือทอหล่าหนองเขียว บือทอละโซสบโขง บืออิแกรสบโขง จะเตปุยห้วยล้านใน จะชีกุยห้วยล้าน ใน แดงมูเซอ โดยข้าวกลุ่มนี้มีโครงสร้างทางพันธุกรรมที่แตกต่างจากกลุ่มที่ 1 อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (p<0.05) จึงมีความเหมาะสมที่จะคัดเลือกเป็นแหล่งพันธุกรรมใหม่เพื่อใช้ในการพัฒนาและ ปรับปรุงพันธุ์ต่อไปen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590531033 มณีสวรรค์ แดนสวรรค์.pdf3.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.