Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73818
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Sarinya Khattiya | - |
dc.contributor.author | Kittiporn Boonyanuphappong | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-11T11:10:38Z | - |
dc.date.available | 2022-08-11T11:10:38Z | - |
dc.date.issued | 2021-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73818 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this study are to investigate the establishment of Communities of Practice (CoPs) and the notion of virtual communities within the Line Group titled “อนุกิจกรรมMMFest62”, in which members are employees and temporary employees of the Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT) - Mae Moh. The researcher employs a Community of Practice Framework, Computer-Mediated Discourse Analysis (CMDA), and Speech Act Analysis. The findings illustrate that the focused Line Group exhibits characteristics of a community of practice, composed of all three fundamental elements: domain, community, and practice, where members share a common objective, assignment, and identity, have interactions with each other both online and in in-person events, which develop and sustain their relationships and they share a common vocabulary. Life cycles of CoPs via the Line application can be divided into four stages: pre-formation, potential, sustaining, and transformation. Before becoming members of an online community, the participants were members of a co-located community, an organization. They interacted and developed relationships with each other via the Line Group in order to achieve an assigned task. Once the task was completed, the group faded away. Additionally, while examining the notion of virtual communities, the researcher focused on two criteria: participation and the roles of the members. The researcher categorized participants into three groups according to their roles and organizational levels: Executives, Coordinators, and Subcommittee. The participant group who sent the most texts was the Coordinators (56.96%), the Subcommittee group accounted for 40.12%, and the Executives (2.92%), respectively. This shows that the participants who were assigned as Coordinators were the core participants in the Line Group. The roles of participants were observed through speech act analysis. It was revealed that there are four speech acts found in the chat log: representatives, directives, expressives, and commissives. These four speech acts were represented by different activities. The highest frequency speech activity of the group was in speech statement, showing that the Line Group is a platform for information and work progress shared among members. Interestingly, the Coordinators sent more directive messages than the Executives. It is assumed that the Executives may have assigned the Coordinators to be their representatives in following up the work on an online platform and directly conveyed their commands via other platforms such as in face-to-face meetings, which are usually arranged at the office. Accordingly, the Coordinators, whose levels are subordinate, become the leaders of the Line Group. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Establishment of community of practice within a line group through computer-mediated discourse | en_US |
dc.title.alternative | การสร้างชุมชนปฏิบัติในกลุ่มไลน์ผ่านวาทกรรมของการสื่อสารโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อกลาง | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | Online chat groups | - |
thailis.controlvocab.thash | Online social networks | - |
thailis.controlvocab.thash | Communication | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การก่อตั้งชุมชนปฏิบัติและชุมชนเสมือนจริงภายใน กลุ่มไลน์ชื่อ “อนุกิจกรรมMMFest62” (คณะอนุกรรมการจัดกิจกรรม งานเทศกาลท่องเที่ยวแม่เมาะ ประจำปี 2562) โดยสมาชิกของกลุ่มไลน์ประกอบด้วยผู้ปฏิบัติงานและลูกจ้างของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ โดยใช้กรอบทฤษฎีชุมชนนักปฏิบัติ การวิเคราะห์วาทกรรมโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อกลาง และการวิเคราะห์วัจนกรรม ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มไลน์ที่ศึกษามีคุณสมบัติเป็นชุมชนนักปฏิบัติ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ หัวข้อความรู้ ชุมชน และแนวปฏิบัติ ซึ่งสมาชิกของกลุ่มมีเป้าหมาย งานที่ได้รับมอบหมายและอัตลักษณ์ร่วมกัน สมาชิกมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันทั้งออนไลน์และในเหตุการณ์รวมตัวกัน ซึ่งช่วยพัฒนาและทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกมีความยั่งยืน อีกทั้ง สมาชิกยังแบ่งปันคำศัพท์ร่วมกัน วงจรชีวิตของชุมชนนักปฏิบัติในแอพพลิเคชันไลน์สามารถแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน คือ ก่อนการเริ่มต้น การเปิดตัว การเติบโต และการสลายกลุ่ม ก่อนที่จะมาเป็นสมาชิกของกลุ่มชุมชนออนไลน์ ผู้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของกลุ่มชุมชนแบบพบปะกันจริง ๆ มาก่อน ด้วยการเป็นพนักงานภายในองค์กรเดียวกัน สมาชิกของกลุ่มมีปฏิสัมพันธ์และพัฒนาความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันในกลุ่มไลน์เพื่อทำงานที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จ ดังนั้น เมื่องานดังกล่าวเสร็จสิ้นลง กลุ่มไลน์ก็สลายกลุ่ม นอกจากนี้ ผู้วิจัยวิเคราะห์การเป็นชุมชนเสมือนจริงของกลุ่มไลน์ โดยใช้ 2 หลักเกณฑ์ คือ การมีส่วนร่วมและบทบาทของสมาชิก ผู้วิจัยแบ่งสมาชิกจำนวน 65 คนออกเป็น 3 กลุ่มตามบทบาทและระดับของสมาชิก ประกอบด้วย ผู้บริหาร 3 คน ผู้ประสานงาน 3 คน และอนุกรรมการ 59 คน กลุ่มสมาชิกที่ส่งข้อความมากที่สุด คือ ผู้ประสานงาน (56.96%) อนุกรรมการ (40.12%) และผู้บริหาร(2.92%) ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่า ผู้ประสานงาน คือ สมาชิกหลักของกลุ่ม ส่วนบทบาทของสมาชิกถูกสังเกตการณ์ผ่านการวิเคราะห์วัจนกรรม ผู้วิจัยพบวัจนกรรม 4 ประเภทในบทสนทนา คือ การบอกกล่าว การพูดสั่ง การแสดงความรู้สึก และการพูดให้สัญญา ซึ่งวัจนกรรมเหล่านี้ถูกนำเสนอผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ที่แตกต่างกันกิจกรรมที่พบบ่อยที่สุด คือ การบอกกล่าวทั่วไป (วัจนกรรมการบอกกล่าว) แสดงให้เห็นว่ากลุ่มไลน์นี้เป็นช่องทางสำหรับการแบ่งปันข้อมูลและความก้าวหน้าของงานระหว่างสมาชิก เป็นที่น่าสนใจว่า ผู้ประสานงาน ส่งข้อความแบบการพูดสั่งในกลุ่มไลน์มากกว่าผู้บริหาร ซึ่งผู้วิจัยสันนิษฐานว่าผู้บริหารได้มอบหมายให้ผู้ประสานงานเป็นตัวแทนในการติดตามงานในช่องทางออนไลน์ และได้สั่งการในช่องทางอื่นของการทำงานแล้ว เช่น การประชุมในที่ทำงาน ผู้ประสานงาน ซึ่งมีระดับบังคับบัญชาต่ำกว่า จึงกลายเป็นผู้นำของกลุ่มไลน์ | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590132029 กิตติพร บุญญานุภาพพงศ์.pdf | 2.6 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.