Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73809
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorParavee Maneejuk-
dc.contributor.advisorWoraphon Yamaka-
dc.contributor.authorQiyu Liangen_US
dc.date.accessioned2022-08-07T10:11:39Z-
dc.date.available2022-08-07T10:11:39Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73809-
dc.description.abstractIn the context of economic globalization, free trade area cooperation is booming all over the world. Since the establishment of the China-ASEAN Free Trade Area(CAFTA), the reduction or abolition of tariffs and non-tariff barriers has led to a substantial increase in bilateral trade flows, which has promoted the economic development of both parties. With the economic development of CAFTA, the old agreement signed between the two parties can no longer meet the needs of the current bilateral economic development. After negotiations, the two sides formally signed the China-ASEAN Free Trade in Kuala Lumpur, Malaysia, on 21st November 2015. The upgraded version of the "Protocol" mainly enriches, supplements, and perfects the original agreement, and improves the standard of the free trade agreement. However, the promotion of trade liberalization is also a double-edged sword. The vast majority of China and ASEAN countries are developing countries, and their resources and products are relatively similar. This has led to fierce competition among member countries in the region, and various industries in some member countries are The impact of free trade, coupled with the adverse effects from outside the region, has brought more challenges to the future development of the CAFTA. This paper analyses the effects of free trade agreements and exchange rate shocks on trade flow between China and ASEAN-6. Based on the panel data that covers 6 ASEAN countries from 2000 to 2019, the threshold regression model is applied with fixed effects to understand the structural break of the exchange rate. Then, Performing a piecewise regression. In brief, according to the estimation results, free trade agreements and exchange rate shocks are of empirical significance on trade flow between China and ASEAN-6. In addition, considering that ASEAN countries that have frequent trade with China are mainly concentrated in countries with better economic development (such as Malaysia, Indonesia, Thailand, the Philippines, Singapore, and Vietnam in this study), they should pay more attention to the optimization and upgrading of trade agreements and exchange rate stability. At the same time, while focusing on economic development, other ASEAN countries must strengthen cooperation with allies. From the perspective of sustainability, both China and ASEAN can benefit.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleEffects of free trade agreements and exchange rate shocks on trade flow between China and ASEAN-6: the nonlinear gravity model approachen_US
dc.title.alternativeผลกระทบของข้อตกลงทางการค้าและการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันของอัตราแลกเปลี่ยนต่อกระแสการค้าระหว่างจีนและ อาเซียน-6: แนวคิดแบบจำลองแรงโน้มถ่วงที่ไม่เป็นเชิงเส้นen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshASEAN Community -- Foreign relations -- China-
thailis.controlvocab.lcshASEAN Economic Community-
thailis.controlvocab.lcshInternational economic integration-
thailis.controlvocab.lcshInternational commercial terms-
thailis.controlvocab.lcshForeign exchange futures-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในบริบทของเศรษฐกิจยุคโลกาภิวัตน์เขตความร่วมมือการค้าเสรีกำลังได้รับความนิยมจากทั่วโลก นับตั้งแต่การก่อตั้งของเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน (CAFTA) การลดหรือการยกเลิกภาษีศุลกากรและการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี ได้นำไปสู่กระแสการค้าแบบทวิภาคีที่เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาลซึ่งเป็นการกระตุ้นการพัฒนาทางเศรษฐกิจของทั้ง 2 ฝ่าย ประกอบกับการพัฒนาเศรษฐกิจของ CAFTA ข้อตกลงฉบับเก่าที่ลงนามระหว่าง 2 ฝ่ายไม่สามารถบรรลุความต้องการของการพัฒนาเศรษฐกิจแบบทวิภาคีในปัจจุบันได้ ภายหลังจากมีการเจรจาต่อรองทั้งสองฝ่ายก็ได้มีการลงนามในข้อตกลงการค้าเสรีจีน-อาเซียนอย่างเป็นทางการที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ประเทสมาเลเซียในวันที่ 21พฤศจิกายน 2558 โดยสัญญาฉบับปรับปรุงมีเนื้อหาโดยส่วนใหญ่เกี่ยวกับการเพิ่มเติมส่งเสริมและทำให้สัญญาฉบับเดิมสมบูรณ์ยิ่งขึ้นและพัฒนามาตรฐานของข้อตกลงการค้าเสรี อย่างไรก็ตามการยกระดับการค้าให้มีความเสรีก็เปรียบเสมือนดาบสองคม ประเทศจีนและประเทศในอาเซียนส่วนใหญ่จัดอยู่ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาทรัพยากรและสินค้าของประเทศเหล่านี้มีความคล้ายคลึงกันซึ่งนำไปสู่การแข่งขันกันอย่างเข้มข้นระหว่างประเทศสมาชิกภายในภูมิภาคและอุตสาหกรรมที่ต่างกัน ในบางประเทศสมาชิกก็เป็นผลกระทบของการค้าเสรี ซึ่งมาพร้อมกับผลกระทบอันรุนแรงจากนอกภูมิภาคนำมาซึ่งความท้าทายที่มากขึ้นในการพัฒนาไปสู่อนาคตของ CAFTA วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการวิเคราะห์ผลกระทบของข้อตกลงการค้าเสรีและความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนในกระแสการค้าระหว่างจีนและอาเซียน-6 อ้างอิงจากข้อมูลพาแนลที่ครอบคลุม ประเทศในอาเซียน ตั้งแต่ปี 2543-2562 แบบจำลองถดถอยแบบค่าวิกฤตถูกนำมาประยุกต์ใช้ร่วมกับอิทธิพลคงที่เพื่อทำความเข้าใจจุดเปลี่ยนในโครงสร้างของอัตราแลกเปลี่ยน จากนั้นแสดงผลช่วงการถดถอยโดยสรุปจากผลการประมาณพบว่าข้อตกลงการค้าเสรีและความผันผวนในอัตราแลกเปลี่ยนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อกระแสการค้าระหว่างจีนและอาเซียน-6 นอกจากนี้เมื่อพิจารณาประเทศในอาเซียนที่มีการค้ากับจีนอยู่เสมอส่วนใหญ่จะมุ่งความสำคัญไปยังประเทศที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจดี ( อาทิ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ไทย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และเวียดนาม) ในการศึกษาครั้งนี้ ประเทศเหล่านี้ควรให้ความสนใจในการเพิ่มประสิทธิภาพและการยกระดับข้อตกลงทางการค้าและความมีเสถียรภาพด้านอัตราแลกเปลี่ยน ในขณะเดียวกันแม้ว่าจะให้ความสำคัญในเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจประเทศอื่นๆในอาเซียนก็จำเป็นต้องสร้างความร่วมมือที่เข้มแข็งกับสมาชิกในกลุ่มเช่นกัน ในแง่ของความยั่งยืนทั้งจีนและอาเซียนจะได้รับประ โยชน์ร่วมกันทั้ง 2 ฝ่ายen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621635814 LIANG, QIYU.pdf4.93 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.