Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73804
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Mingkwan Kruachanta | - |
dc.contributor.author | Phattranit Sophon | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-07T08:01:20Z | - |
dc.date.available | 2022-08-07T08:01:20Z | - |
dc.date.issued | 2021-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73804 | - |
dc.description.abstract | Nowadays, the amount of petroleum in the thick bed starts decreasing; thus, the thin bed hydrocarbon reservoirs are the alternative targets of hydrocarbon production. Thin bed reservoirs can maintain the reserves of the hydrocarbon. However, conventional seismic interpretation cannot delineate the thin bed reservoir that its thickness is smaller than the vertical resolution. Therefore, spectral decomposition and instantaneous seismic attributes were used to delineate the thin bed in this study. Short Window Discrete Fourier Transform (SWDFT) spectral decomposition and instantaneous frequency attributes were used to reveal the thin bed reservoir, while hydrocarbon bearing zone used Continuous Wavelet Transform (CWT) spectral decomposition and envelope (instantaneous amplitude) attributes to indicate the zone. Mangahewa Formation is the most productive hydrocarbon in Pohokura Field, Taranaki Basin, New Zealand. The uppermost part of Mangahewa Formation in the study area at Pohokura Field was selected for analysis. The study results indicate that 72 Hz SWDFT isofrequency section and map can reveal the thin bed that is confirmed by the instantaneous frequency attribute. The hydrocarbon accumulation area of the thin bed target is indicated by showing the high anomaly of envelope attribute. Moreover, the CWT spectral decomposition shows the low-frequency shadow zone and abnormal seismic attenuation in the higher isofrequencies contents below the thin bed which confirm the prospected hydrocarbon zone of the thin bed. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Thin bed reservoir delineation using spectral decomposition and instantaneous seismic attributes, Pohokura Field, Taranaki Basin, New Zealand | en_US |
dc.title.alternative | การระบุชั้นหินกักเก็บบางโดยใช้การแยกสเปกตรัมและลักษณะ ประจำคลื่นไหวสะเทือนขณะหนึ่ง แหล่งโพโฮคุระ แอ่งทารานากิ นิวซีแลนด์ | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | Hydrocarbons | - |
thailis.controlvocab.thash | Petroleum | - |
thailis.controlvocab.thash | Rocks ; Stone | - |
thailis.controlvocab.thash | Taranaki Basin | - |
thailis.controlvocab.thash | Pohokura Field | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | เนื่องจากปัจจุบันนี้ปริมาณปิโตเลียมในชั้นหินกักเก็บที่หนาเริ่มมีปริมาณลดลง ดังนั้นชั้นหินกักเก็บไฮโครคาร์บอนที่บางจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถช่วยรักษาระดับปริมาณปิโตเลียมสำรองได้ อย่างไรก็ตาม การแปลความหมายคลื่นไหวสะเทือนแบบเดิมไม่สามารถกำหนดขอบเขตของชั้นหินกักเก็บบางที่มีความหนาน้อยกว่าความละเอียดแนวดิ่งได้ ดังนั้นการแยกสเปกตรัมและลักษณะประจำคลื่นไหวสะเทือนขณะหนึ่งจึงถูกใช้เพื่อระบุขอบเขตของชั้นหินบางในการศึกษานี้ซึ่งการแยกสเปกตรัมด้วยการแปลงฟูเรียร์ไม่ต่อเนื่องกรอบสั้นและลักษณะประจำความถี่ขณะหนึ่งถูกใช้ในการระบุตำแหน่งชั้นหินบาง ในขณะที่การแยกสเปกตรัมด้วยการแปลงรูปคลื่นแบบต่อเนื่องและลักษณะประจำกรอบคลื่นถูกใช้ระบุบริเวณที่กักเก็บไซโดรคาร์บอน หมวดหินมังกาธิวะ เป็นหมวดหินที่มีการผลิตไฮโครคาร์บอนสูงสุดในแหล่งโพโฮคุระ แอ่งทารานากิ ประเทศนิวซีแลนด์ตอนบนของหมวดหินมังกาชิวะในพื้นที่ศึกษาบริเวณแหล่งโพโฮคุระถูกเลือกเพื่อนำมาทำการวิเคราะห์ จากผลการศึกษาการแยกสเปกตรัมด้วยการแปลงฟูเรียร์ไม่ต่อเนื่องกรอบสั้นความถี่เดี่ยว 72 เฮิร์ต สามารถระบุชั้นหินบางได้ ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาจากลักษณะประจำความถี่ขณะหนึ่ง โดยบริเวณกักเก็บไฮโครคาร์บอนของชั้นหินบางถูกแสดงได้โดยกลุ่มพลังงานสูงของลักษณะประจำกรอบคลื่น ซึ่งสอดคล้องกับผลของการแยกสเปกตรัมด้วยการแปลงรูปคลื่นแบบต่อเนื่องที่แสดงบริเวณเงาคลื่นความถี่ต่ำใช้บริเวณกักเก็บไฮโดรคาร์บอนและการลดทอนแอมพริจูดคลื่นไหวสะเทือนผิดปกติในแต่ละความถี่เดี่ยวที่ความถี่สูงขึ้น ซึ่งสนับสนุนผลการศึกษานี้ว่าชั้นหินบางในหมวดหินมังกาฮิวะนี้มีการกักเก็บไฮโดรคาร์บอน | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620535915 ภัทรานิษฐ์ โสภณ.pdf | 13.8 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.