Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73800
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรลญัจก์ บุณญสุรัตน์-
dc.contributor.authorศุภวาร วงศ์รอบen_US
dc.date.accessioned2022-08-07T06:41:14Z-
dc.date.available2022-08-07T06:41:14Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73800-
dc.description.abstractThis research “Cultural Management in Den Chai District as a Learning Site and a Site for Cultural Tourism” aims to study historical background of Phrae province: including history, society and culture, study the historical background, economic and cultural of communities in Den Chai District, Phrae Province as well as to study the value potential and problems of cultural heritage of the community, and propose the model and methods to manage the cultural heritage in Den Chai District, Phrae Province, as a learning site and a site for cultural tourism. This research is qualitative research, and the research methodology consists of documents study and field study by observing and interviewing the stakeholders of Den Chai district: including the community leaders, monks, community sages, administrators of local government organization, the chief or government officials and inhabitants. Then, data was analyzed to recognize the value and problems of cultural heritage which leads to propose the model and methods to manage the cultural heritage as a learning site and a site for cultural tourism. The research found that Phrae province was an ancient city and had more cultural heritages from the long of the historical development. In the previous times, Den Chai district, Phrae province was important as an ancient route. In King Rama V period to present time, Den Chai has the community settlements and the development of economic prosperity because of the coming of the railway. Den Chai district has more cultural heritages: including tangible cultural heritage and intangible cultural heritage which have historical value, academic and education value, technology value, social and culture value, and art and appreciation value that culture can be managed as the learning site and the site for cultural tourism routes, and stick to the efficient and sustainable management which consist of the integration and association between communities, local and government officials.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมในเขตอำเภอเด่นชัยให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมen_US
dc.title.alternativeCultural management in Den Chai district as a learning site and a site for cultural tourismen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashแพร่ -- ความเป็นอยู่และประเพณี-
thailis.controlvocab.thashวัฒนธรรม-
thailis.controlvocab.thashการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -- แพร่-
thailis.controlvocab.thashการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ -- แพร่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยเรื่อง "การจัดการมรดกทางวัฒนธรรมในเขตอำเภอเด่นชัย ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม" มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบริบททางประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรมของเมืองแพร่ เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของชุมชน ตลอดจนศึกษามรดกวัฒนธรรม คุณค่าและสภาพปัญหาของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมในเขตอำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ และเพื่อเสนอรูปแบบและวิธีการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมในเขตอำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ที่ทำการศึกษาภาคเอกสารและภาคสนาม ด้วยวิธีการสังเกตการณ์ทางกายภาพและการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างกับผู้เกี่ยวข้องในเขตอำเภอเด่นชัข ประกอบด้วยผู้นำชุมชนพระภิกษุสงฆ์ ปราชญ์ท้องถิ่น ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หัวหน้าหรือเจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐ และประชาชนในเขตอำเภอเด่นชัย รวมทั้งสิ้น 53 คน และนำข้อมูลมาวิเคราะห์คุณค่าและปัญหาของมรดกทางวัฒนธรรมและเสนอรูปแบบและวิธีการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมในเขตอำเภอเด่นชัย ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในท้ายที่สุด ผลการศึกษาพบว่าเมืองแพร่ เป็นเมืองเก่าแก่ มีมรดกทางวัฒนธรรมที่มากมายหลากหลายอันเป็นผลพวงมาจากพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ในพื้นที่ เช่นเดียวกับอำเภอเด่นชัย พื้นที่ส่วนหนึ่งของเมืองแพร่ ในอดีตมีความสำคัญในฐานะเส้นทางโบราณ มีการตั้งถิ่นฐานชุมชนในพื้นที่เบาบาง ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 มีพัฒนาการการตั้งถิ่นฐานที่หนาแน่นและมีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจในพื้นที่มากขึ้น ซึ่งเป็นผลพวงจากการเข้ามาของเส้นทางรถไฟ เขตอำเภอเด่นชัยมีมรดกทางวัฒนธรรมที่หลากหลายทั้งมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องได้และมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ มีคุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์ คุณค่าทางด้านวิชาการและการศึกษา คุณค่าด้านเทคโนโล คุณค่าด้านสังคมและวัฒนธรรม และคุณค่าทางด้านศิลปะและสุนทรียภาพ สามารถจัดการเป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมได้ในรูปแบบเส้นทางเรียนรู้และท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม โดยยึดหลักการจัดการที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ด้วยวิธีการ จัดการแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างชุมชน ท้องถิ่น และหน่วยงานภาครัฐen_US
Appears in Collections:FINEARTS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620332007 ศุภวาร วงศ์รอบ.pdf33.39 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.