Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73776
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorManad Khamkong-
dc.contributor.advisorSirima Suwan-
dc.contributor.advisorLampang Saenchan-
dc.contributor.authorTanachot Chaitoen_US
dc.date.accessioned2022-08-06T04:15:14Z-
dc.date.available2022-08-06T04:15:14Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73776-
dc.description.abstractThe objectives of this thesis are to propose the length-biased Weibull-Rayleigh distribution and the mixed Weibull-Rayleigh distribution modified from the Weibull-Rayleigh distribution and investigation their properties and to apply the length-biased Weibull-Rayleigh distribution and the mixed Weibull-Rayleigh distribution for modeling rainfall and runoff data. The statistical properties of the length-biased Weibull-Rayleigh distribution and the mixed Weibull-Rayleigh distribution such as survival function, hazard rate function, the r th moment, mean, variance, skewness, and kurtosis were investigated and were presented in this thesis. Moreover, we derived the parameter estimations of the length-biased Weibull-Rayleigh and mixed Weibull-Rayleigh distributions based on the maximum likelihood estimation, method of moments, Bayesian approach, maximum product of spacing estimators, Anderson-Darling minimum distance estimators and Cramer-von Mises minimum distance estimators. A Monte Carlo simulation was used to compare the efficiency of parameter estimation methods for estimating parameters of the length-biased Weibull-Rayleigh and mixed Weibull-Rayleigh distributions. In most of the scenarios, the mean square error values of the sample mean of the parameter estimation based on the method of moments and Bayesian approach were smaller than other methods, while the bias values of the sample means of the parameter estimations based on the Anderson-Darling minimum distance estimators and Cramer-von Mises minimum distance estimators methods were closer to zero than other methods. Applications of the length-biased Weibull-Rayleigh distribution were conducted on hydrological datasets, that are the annual flood discharge rates data and rainy season rainfall data. Judging from the Kolmogorov-Smirnov statistic, Akaike information criterion and Bayesian information criterion values, the length-biased Weibull-Rayleigh distribution provided the best fit for two hydrological datasets. Additionally, the mixed Weibull-Rayleigh distribution was applied to October rainfall data. From the Kolmogorov-Smirnov statistic and Akaike information criterion values, the results showed that the mixed Weibull-Rayleigh distribution gave the best fit for October rainfall data. In addition, we used the annual maximum rainfall data from Mae Taeng, Muang Chiang Mai, Samoeng, and Muang Lamphun stations, as well as the annual maximum runoff data from Chiang Dao, Phrao, Mae Tha, and Chom Thong stations, to predict return levels and return periods based on the length-biased Weibull-Rayleigh and mixed Weibull-Rayleigh distributions. The return periods based on the length-biased Weibull-Rayleigh and mixed Weibull-Rayleigh distributions for the annual maximum rainfall data showed that all rain gauge stations were in a high hazard class of the flood. Therefore, all rain gauge stations could be a high risk of flooding. The return periods based on the length-biased Weibull-Rayleigh and mixed Weibull-Rayleigh distributions for the annual maximum runoff data showed that most runoff gauge stations had a moderate hazard class of the flood. Therefore, most runoff gauge stations could be a moderate risk of flooding.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectWeibull-Rayleigh distributionen_US
dc.subjectLength-biased Weibull-Rayleigh distributionen_US
dc.subjectMixed Weibull-Rayleigh distributionen_US
dc.subjectReturn level and return perioden_US
dc.subjectHydrological dataen_US
dc.titleModification of weibull-rayleigh distributions and their applicationsen_US
dc.title.alternativeการปรับปรุงการแจกแจงไวบูล-เรย์เลห์และการประยุกต์en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshFunctions-
thailis.controlvocab.lcshFunctional analysis-
thailis.controlvocab.lcshTheory of distributions (Functional analysis)-
thailis.controlvocab.lcshReliability-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงการแจกแจงไวบูล-เรย์เลห์ (Weibull-Rayleigh distribution) ด้วยการพัฒนาการแจกแจงความยาวเอนเอียงไวบูล-เรย์เลห์ (Length-biased Weibull-Rayleigh distribution) และการแจกแจงผสมไวบูล-เรย์เลห์ (Mixed Weibull-Rayleigh distribution) พร้อมทั้งศึกษาสมบัติที่สำคัญทางสถิติของการแจกแจงที่พัฒนา เช่น ฟังก์ชันรอดชีพ ฟังก์ชันอัตราพิบัติ โมเมนต์อันดับที่ r ค่าคาดหมาย ความแปรปรวน ความเบ้ และความโด่ง เป็นต้น และประยุกต์การแจกแจงที่ปรับปรุงในการสร้างแบบจำลองปริมาณฝนและน้ำท่า การศึกษานี้ได้ทำการเปรียบเทียบวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ 6 วิธี ในการประมาณค่าพารามิเตอร์ของการแจกแจงความยาวเอนเอียงไวบูล-เรย์เลห์ และการแจกแจงผสมไวบูล-เรย์เลห์ ซึ่งประกอบด้วย วิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุด วิธีโมเมนต์ วิธีการประมาณค่าของเบส์ วิธีผลคูณสูงสุดของระยะห่าง วิธีระยะห่างต่ำสุดของแอนเดอร์สัน-ดาร์ลิ่ง และวิธีระยะห่างต่ำสุดของคราเมอร์-วอน-มิสส์ ผลการศึกษาพบว่า วิธีโมเมนต์ และวิธีการประมาณค่าของเบส์มีค่าคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ยน้อยกว่าวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์วิธีอื่น ๆ และวิธีตัวประมาณระยะห่างต่ำสุดของแอนเดอร์สัน-ดาร์ลิ่ง และวิธีตัวประมาณระยะห่างต่ำสุดของคราเมอร์-วอน-มิสส์มีค่าความเอนเอียงเข้าใกล้ศูนย์มากกว่าวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์วิธีอื่น ๆ การประยุกต์ของการแจกแจงความยาวเอนเอียงไวบูล-เรย์เลห์ ในการศึกษานี้ได้ใช้ข้อมูลทางอุทกวิทยา 2 ชนิด ได้แก่ อัตราการระบายน้ำท่วมรายปี และปริมาณฝนในฤดูฝน ผลการศึกษาพบว่า การแจกแจงความยาวเอนเอียงไวบูล-เรย์เลห์มีความเหมาะสมกับชุดข้อมูลทางอุทกวิทยาทั้ง 2 ชนิด เนื่องจากให้ค่าสถิติทดสอบโคลโมโกรอฟ-สไมร์นอฟ ค่าเกณฑ์สารสนเทศของอะกะอิเกะ และค่าเกณฑ์สารสนเทศของเบส์น้อยที่สุด ขณะที่การประยุกต์ของการแจกแจงผสมไวบูล-เรย์เลห์ การศึกษานี้ได้ใช้ข้อมูลปริมาณฝนสะสมในเดือนตุลาคม ผลการศึกษาพบว่า การแจกแจงผสมไวบูล-เรย์เลห์มีความเหมาะสมกับข้อมูลปริมาณฝนเดือนตุลาคม เนื่องจากให้ค่าสถิติทดสอบโคลโมโกรอฟ-สไมร์นอฟ และค่าเกณฑ์สารสนเทศของอะกะอิเกะน้อยที่สุด การประยุกต์ใช้การแจกแจงความยาวเอนเอียงไวบูล-เรย์เลห์ และการแจกแจงผสมไวบูล-เรย์เลห์ในการสร้างแบบจำลองปริมาณฝนและน้ำท่า การศึกษานี้ได้ใช้ข้อมูลปริมาณฝนสูงสุดรายปีจากสถานีแม่แตง สถานีเมืองเชียงใหม่ สถานีสะเมิง และสถานีเมืองลำพูน และข้อมูลปริมาณน้ำท่าสูงสุดรายปีจากสถานีเชียงดาว สถานีพร้าว สถานีแม่ทา และสถานีจอมทอง ผลการศึกษาได้แบ่งออกเป็น 2 ส่วนดังต่อไปนี้ 1) ตัวแบบรอบปีการเกิดซ้ำของปริมาณฝนสูงสุดรายปีโดยอาศัยการแจกแจงความยาวเอนเอียงไวบูล-เรย์เลห์ และการแจกแจงผสมไวบูล-เรย์เลห์พบว่า ทุกสถานีตรวจวัดปริมาณฝนที่ถูกเลือกมาศึกษามีโอกาสเกิดอุทกภัยในระดับสูง 2) ตัวแบบรอบปีการเกิดซ้ำของปริมาณน้ำท่าสูงสุดรายปีโดยอาศัยการแจกแจงความยาวเอนเอียงไวบูล-เรย์เลห์ และการแจกแจงผสมไวบูล-เรย์เลห์พบว่า เกือบทุกสถานีตรวจวัดปริมาณน้ำท่าที่ถูกเลือกมาศึกษามีโอกาสเกิดอุทกภัยในระดับปานกลางen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620551010_Tanachot Chaito.pdf8.47 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.