Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73772
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorYingmanee Tragoolpua-
dc.contributor.authorBoonpa Suantaien_US
dc.contributor.otherThararat Chitov-
dc.contributor.otherHataichanok Pandith-
dc.date.accessioned2022-08-06T03:42:04Z-
dc.date.available2022-08-06T03:42:04Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73772-
dc.description.abstractRice is one of the most important food crops in many countries, with nutritional value and health benefits while bean is a major grain consumed worldwide. Therefore, the natural active substances. from pigmented rice and bean extracts become of considerable interest to study antioxidant activities, an efficacy inhibition herpes simplex virus and antiproliferation of colon cancer cell. Six samples of organic rice and bean were investigated in this research. These samples were extracted with distilled water and 95% ethanol. The highest percentage yield was observed from the black bean aqueous extract. Then, the extracts were examined for antioxidant activity using DPPH and ABTS assays. The result revealed that the aqueous extract of black glutinous rice showed the highest antioxidant activity using DPPH assay by 31.58 ± 0.03 mg of gallic acid/g extract. Whereas, the ethanolic extract of red jasmine rice had the highest antioxidant activity of 189.45 ± 11.58 mg TEAC/g extract by the ABTS method. In addition, the total anthocyanins content of 3,188.37 ± 40.81 mg Cy-3-glc/g extract was determined from the ethanolic extract of black glutinous rice. In addition, the ethanolic extract of red jasmine rice showed the highest total phenolic compound of 81.91 ± 0.51 mg of gallic acid/g of extract. Anti-HSV activity of pigmented rice and bean extracts were examined for cytotoxicity on Vero cell by MTT assay. The result revealed that the ethanolic of soy bean showed the lowest cytotoxicity with CD50 value more than 5,000 µg/ml, while the red jasmine rice ethanolic extract revealed the highest cytotoxicity in Vero cells with CD50 value of 862.05 ± 28.14 µg/ml. After that, nontoxic concentrations of pigmented rice and bean extracts were used to examine against HSV-1 and HSV-2 by plaque reduction assay. It was found that the ethanolic extract of red jasmine rice completely inhibited HSV-1 when treated before, during, and after the viral attachment on Vero cells, with 50% effective doses of 227.53 ± 2.41, 189.59 ± 7.76, and 192.62 ± 2.40 µg/ml, respectively. Moreover, the aqueous extract of red bean exhibited the highest inhibition on HSV-2 when treated before and during viral attachment stage, with 50% effective doses of 1,797. 69 ± 7.89 and 1,447.82 ± 78.34 µg/ml, respectively. Thus, the study of anti-viral effect on various stages of HSV infection was performed. Direct inactivation kinetic of HSV particles revealed the high ability of the ethanolic extract of red jasmine rice on inactivation of HSV-1 particles with the log reduction of viral titer by 2.40 ± 0.30 PFU/ml, while the aqueous extract of red bean showed the highest anti-HSV-2 activity with log reduction of viral titer by 1.34 ± 0.33 PFU/ml at 4 h after treatment. Furthermore, it was found that the ethanolic extract of red jasmine rice affected viral replication and showed the highest inhibition of HSV-1 replication. Whereas, the aqueous extract of red bean on HSV-2 replication demonstrated the most inhibitory activity at 36 h post infection. Moreover, cytotoxicity of extracts on Caco-2 cells was determined by MTT assay. The ethanolic extract of red jasmine rice showed the highest toxicity on Caco-2 cells with IC50 value of 372.56 ± 15.54 µg/ml. The ethanolic extract of red jasmine rice exhibited a higher toxicity level than the aqueous extract of red jasmine rice and the potential to induce the DNA fragmentation by intrinsic and extrinsic apoptotic pathways on the Caco-2 cells. Moreover, the DNA fragmentation was also induced by the ethanolic extract of black bean through the intrinsic apoptotic pathway by activity of caspase 9 enzyme. Therefore, the knowledge obtained from this study may be useful for development of effective antioxidant, anti-HSVs and anticancer agents from pigmented rice and bean extracts in the future.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleBiological properties of pigmented rice and bean extracts for suppression of herpes simplex viruses and colon cancer cellsen_US
dc.title.alternativeสมบัติทางชีวภาพของสารสกัดจากข้าวที่มีรงควัตถุและถั่วในการยับยั้งไวรัสก่อโรคเริมและเซลล์มะเร็งลำไส้en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshHerpes simplex --Treatment-
thailis.controlvocab.lcshIntestines -- Cancer --Treatment-
thailis.controlvocab.lcshAntiviral agents-
thailis.controlvocab.lcshRice -- Testing-
thailis.controlvocab.lcshBeans -- Testing-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractข้าวเป็นพืชอาหารที่สำคัญที่สุดชนิดหนึ่งในหลายประเทศซึ่งมีคุณค่าทางโภชนาการและมีประโยชน์ต่อสุขภาพ ในขณะที่ถั่วเป็นธัญพืชหลักที่บริโภคกันทั่วโลก ดังนั้นสารออกฤทธิ์ตามธรรมชาติจากข้าวที่มีรงควัตถุและถั่ว จึงเป็นที่น่าสนใจอย่างมากในการศึกษาประสิทธิภาพของสารออกฤทธิ์ทางธรรมชาติของสารสกัดจากข้าวที่มีรงควัตถุและถั่ว ในการต้านอนุมูลอิสระ การยับยั้งการติดเชื้อไวรัสก่อโรคเริมและการยับยั้งเซลล์มะเร็งลำไส้ การศึกษาข้าวและถั่ว จำนวน 6 ตัวอย่าง พบว่าเมื่อนำมาสกัดด้วยน้ำกลั่นที่ผ่านการฆ่าเชื้อและเอทานอล 95 % ผลพบว่าสารสกัดน้ำจากถั่วดำให้ผลร้อยละน้ำหนักแห้งสูงสุด คือ 9.54 % จากนั้นฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดถูกทดสอบความเป็นโดยวิธี DPPH และ ABTS ผลปรากฏว่าสารสกัดน้ำของข้าวก่ำมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงสุด เมื่อทดสอบด้วยวิธี DPPH เท่ากับ 31.58 ± 0.03 mg of gallic/g extract โดยที่สารสกัดเอทานอลของข้าวหอมมะลิแดงมีฤทธิ์ต้านอนุมูลสูงสุดถึง 189.45 ± 11.58 mg TEAC/g extract โดยวิธี ABTS นอกจากนี้ตรวจพบปริมาณแอนโทไซยานินรวมสูงสุด คือ 3,188.37 ± 40.81 mg Cy-3-glc/g extract จากสารสกัดเอทานอลของข้าวก่ำ นอกจากนี้สารสกัดเอทานอลของข้าวหอมมะลิแดงพบว่ามีสารประกอบฟินอลลิกรวมสูงสุด คือ 81.91 ± 0.51 mg of gallic/g extract สำหรับการทดสอบการออกฤทธิ์ต้านไวรัสก่อโรคเริมของสารสกัดข้าวและถั่ว ก่อนอื่นนำสารสกัดทั้งหมดทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ Vero ด้วยวิธี MTT assay ซึ่งผลการทดสอบพบว่า สารสกัดเอทนาอลจากถั่วเหลือง ให้ผลความเป็นพิษต่ำสุดที่ความเข้มข้นที่ทำให้เป็นพิษต่อเซลล์ 50% (CD50) มากกว่า 5,000 µg/ml ขณะที่สารสกัดเอทานอลของข้าวหอมมะลิแดง ให้ผลความเป็นพิษต่อเซลล์เพาะเลี้ยงสูงสุดโดยแสดงค่าของ CD50 เท่ากับ 862.05 ± 28.14 µg/ml จากนั้นนำสารสกัดที่มีความเข้มข้นไม่เป็นพิษต่อเซลล์มาทดสอบการยับยั้งไวรัสก่อโรคเริมชนิดที่ 1 และ 2 โดยวิธี plague reduction assay ผลการทดสอบพบว่าสารสกัดเอทานอลจากข้ามหอมมะลิแดง ให้ผลการยับยั้งไวรัสก่อโรคเริมชนิดที่ 1 ได้อย่างสมบูรณ์ โดยยับยั้งไวรัสก่อนเกาะติดเซลล์ ขณะเกาะติดเซลล์และหลังเกาะติดเซลล์ Vero โดยมีปริมาณความเข้มข้นของสารสกัดที่ทำให้ไวรัสเริมลดลง 50% (ED50) คือ ก่อนไวรัสเกาะติดเซลล์เท่ากับ 227.53 ± 2.41 µg/ml ขณะไวรัสเกาะติดเซลล์เท่ากับ 189.59 ± 7.76 µg/ml และหลังเกาะติดเซลล์เท่ากับ 192.62 ± 2.40 µg/ml ตามลำดับ นอกจากนี้สารสกัดน้ำของถั่วแดงพบการยับยั้งไวรัสเริมชนิดที่ 2 สูงสุด เมื่อทำการทดสอบก่อนเกาะติดเซล์และขณะเกาะติดเซลล์ โดยให้ค่า ED50 เท่ากับ 1,797. 69 ± 7.89 และ 1,447.82 ± 78.34 µg/ml ตามลำดับ ดังนั้นจึงได้ทำการศึกษาประสิทธิภาพสารสกัดจากข้าวที่มีรงควัตถุและถั่วในการยับยั้งขั้นตอนต่างๆ ของการติดเชื้อไวรัสเริม การศึกษาการยับยั้งอนุภาคไวรัสก่อโรคเริมโดยตรง ปรากฏว่าสารสกัดเอทนอลของข้าวหอมมะลิแดงให้การยับยั้งไวรัสก่อโรคเริมชนิดที่ 1 สุดสุดโดยมีค่า log ของปริมาณไวรัสที่ลดลงเท่ากับ 2.40 ± 0.30 PFU/ml ในขณะที่สารสกัดน้ำของถั่วแดงแสดงการยับยั้งไวรัสเริมชนิดที่ 2 สูงสุด ปรากฏค่า log ของปริมาณไวรัสที่ลดลงเท่ากับ 1.34 ± 0.33 PFU/ml ในเวลา 4 ชั่วโมง หลังการทดสอบรวมกับไวรัส นอกจากนี้พบว่า สารสกัดเอทานอลของข้าวมะลิแดงมีผลต่อการยับยั้งขั้นตอนเพิ่มจำนวนของไวรัสก่อโรคเริมชนิดที่ 1 ในขณะที่การเพิ่มจำนวนของไวรัสเริมชนิดที่ 2 พบว่าสารสกัดน้ำของถั่วแดงให้ค่าการยับยั้งมากที่สุดในเวลา 36 ชั่วโมงหลังการติดเชื้อ นอกจากนี้การทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็ง Caco-2 โดยวิธี MTT พบว่า สารสกัดเอทานอลของข้าวหอมมะลิแดงให้ค่าความเป็นพิษต่อเซลล์ Caco-2 สูงสุด โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 372.56 ± 15.54 µg/ml สารสกัดเอทานอลของข้าวหอมมะลิแดงมีระดับความเป็นพิษที่สูงกว่าสารสกัดน้ำของข้าวหอมมะลิแดงและมีศักยภาพในการชักนำให้เกิดการแตกหักของชิ้นส่วนดีเอ็นเอ ผ่านการเหนี่ยวนำให้เซลล์ Caco-2 ตายแบบอะพอพโตซิสโดย intrinsic และ extrinsic pathways นอกจากนี้การแตกหักของชิ้นส่วนดีเอ็นเอสามารถถูกชักนำให้เกิดได้ด้วยสารสกัดเอทานอลของถั่วดำได้เช่นเดียวกันโดยผ่านการเหนี่ยวนำให้เซลล์ Caco-2 ตายแบบอะพอพโตซิสผ่าน intrinsic pathwayโดยการกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์ caspase-9 ดังนั้นความรู้จากการศึกษานี้อาจจะเป็นประโยชน์ ในการพัฒนาสารที่มีประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระ ต้านไวรัสก่อโรคเริมและสารต้านเซลล์มะเร็งจากสารสกัดข้าวที่มีรงควัตถุและถั่วในอนาคตen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590551016-Watermark.pdf4.45 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.