Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73753
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลวดี อภิชาติบุตร-
dc.contributor.advisorคัทลียา ศิริภัทรากูร แสนหลวง-
dc.contributor.authorสุทธิรา ฟูคำen_US
dc.date.accessioned2022-08-03T16:19:11Z-
dc.date.available2022-08-03T16:19:11Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73753-
dc.description.abstractPatient safety is an important fundamental principle of health care services and is of concern to healthcare organizations and patients around the world. This descriptive study aimed to study patients' perceptions of safety and recommendations for improving patient safety at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. The participants consisted of 434 patients admitted to inpatient units at Mabaraj Nakorn Chiang Mai Hospital in Chiang Mai, Thailand. The research instruments were the Patient Measure of Safety questionnaire developed by Louch et al. (2019) and the Patient Safety Recommendation questionnaire developed by the researcher. The reliability of the Patient Measure of Safety questionnaire was 0.83 The data were analyzed using descriptive statistics and categorization. The results were as follows: 1. The patients in Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital perceived the overall patient safety at a high level. Domains that patients perceived at a high level were dignity and respect, staff training, communication and teamwork, information flow, organization and care planning, delays, access to resources and ward type and layout. The domain of staff roles and responsibilities was perceived at a moderate level. 2. The recommendations for improving patient safety in Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital were 1) gentle communication/action and respect, 2) provide general and specific care training, 3) improve communication for patients and families and between team or staff, 4) rapidly and systematically transfer patient information and improve the patient database for transferring patient information, 5) managing care for patient safety, 6) manage the number of personnel appropriately for the workload, increase and distribute the service places, and organize an effective work system, 7) manage the amount of well-maintained equipment so that it is ready to use, 8) improve the use of space and equipment in the unit for safety, control for appropriate light, noise, temperature, and cleanliness, and 9) take full responsibility. The results of this study can be used by the hospital and nurse administrators as guidance formanaging work systems and support resources to improve patient safety at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความปลอดภัยen_US
dc.titleการรับรู้ความปลอดภัยของผู้ป่วยในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativePatients’ perceptions of safety in Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วย -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashการดูแลรักษาในโรงพยาบาล-
thailis.controlvocab.thashบริการการพยาบาลของโรงพยาบาล-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลักพื้นฐานที่สำคัญของการให้บริการทางด้านสุขภาพและเป็นสิ่งที่สถานบริการสุขภาพและผู้ป่วยทั่วโลกให้ความสำคัญ การศึกษาเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับรู้ความปลอดภัยของผู้ป่วยและศึกษาข้อเสนอแนะในการปรับปรุงความปลอดภัยของผู้ป่วยในโรงพชาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ป่ายที่มารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทยจำนวน 434 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบประเมินการรับรู้ความปลอดภัยของผู้ป่วยที่พัฒนาโดย ลาช์ และกณะ (Louch et al, 2019) และแบบสอบถามข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงความปลอดภัยของผู้ป่วยที่ผู้ศึกยาพัฒนาขึ้น แบบประเมินการรับรู้ความปลอดภัยของผู้ป่ายมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.83 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และการจัดหมวดหมู่ ผลการศึกษาพบว่า 1. ผู้ป่วยในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่รับรู้ความปลอดภัยของผู้ป่วยโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่ผู้ป่วยมีการรับรู้ในระดับมากได้แก่ การเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และให้เกียรติ การอบรมของบุคลากร การสื่อสารและการทำงานเป็นทีม การรับส่งข้อมูล องค์การและการวางแผนการดูแล ความล่าช้ำในการบริการ การเข้าถึงทรัพยากร และการจัดหอผู้ป่วย ส่วนด้านบทบาทและหน้าที่ของบุคลากรมีการรับรู้อยู่ในระดับปานกลาง 2. ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงให้เกิดความปลอดภัยของผู้ป่วยในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ได้แก่ 1) พูดจาและแสดงกริยาสุภาพ อ่อนหวาน ให้เกียรติ 2) จัดอบรมเกี่ยวกับการบริการทั่วไปและการดูแลผู้ป่ายเฉพาะด้าน 3) ปรับปรุงการสื่อสารกับผู้ป่วยและญาติ และระหว่างทีมหรือเจ้าหน้าที่ 4) ส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยอย่างเป็นระบบและรวดเร็ว และปรับปรุงฐานข้อมูลเพื่อส่งต่อข้อมูลของผู้ป่วย 5) จัดการดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความปลอดภัย 6) จัดบุคลากรให้เหมาะสมกับภาระงานเพิ่มหรือกระจายจุดบริการ และจัดระบบการทำงนให้มีประสิทธิภาพ 7) จัดให้มีจำนวนอุปกรณ์และของใช้อย่างเพียงพอ เพื่อให้มีอุปกรณ์ต่างๆ พร้อมใช้ 8) ปรับปรุงการใช้พื้นที่และอุปกรณ์ในหอผู้ป่วย ให้เกิดความปลอดภัย และควบคุมแสงสว่าง เสียงรบกวน อุณหภูมิและดูแลความสะอาดให้เหมาะสมและ 9) ปฏิบัติหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างเต็มที่ ผู้บริหารโรงพยาบาลและผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำผลการศึกษานี้ไปเป็นแนวทางในการจัดการระบบการทำงานและการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อปรับปรุงความปลอดภัยของผู้ป่วยในโรงพยาบาลมหาราชนครให้ดียิ่งขึ้นต่อen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611231050 สุทธิรา ฟูคำ.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.