Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73726
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิริยะ ยาวิราช-
dc.contributor.advisorพิสัยศิษฎ์ ชัยจรีนนท์-
dc.contributor.authorยศมน วารีสุรหาญen_US
dc.date.accessioned2022-07-26T09:53:27Z-
dc.date.available2022-07-26T09:53:27Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73726-
dc.description.abstractObjective: To draw a comparison of wear resistance between heat-curing acrylic resin modified with silanized nanoalumina and commercially artificial tooth. Materials and methods: Two-body wear of heat-curing acrylic resin modified with silanized nanoalumina 0.25, 0.5, 0.75, 1 wi% and 4 brands of commercially artificial teeth consisted of acrylic resin (Cosmo HXL and Yamahachi New Ace) and composite teeth (Endura and Yamahachi PX) were analyzed, contemplated using pin on disc tribometers stipulated with heat-curing acrylic resin without nanoalumina served as a control group. Volume losses were measured and statistically analyzed by using One-way analysis of variance (ANOVA) with a signiticance level 95%. Results: Volume loss of acrylic resin modified with silanized nanoalumina 0.25 wt and Endura composite teeth were the lowest, significantly different from control group and Yamahachi New Ace. Conclusion: Property improvement by adding 0.25 wt% silanized nanoalumina can enhance wear resisteance of acrylic resin similar to composite teeth and significantly higher than conventional acrylic resin teeth. Wear resistance tended to decline when the number of nanoalumina increased.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเปรียบเทียบความต้านทานต่อการสึกระหว่างเรซินอะคริลิกชนิดบ่มร้อนที่ปรับปรุงด้วยอนุภาคนาโนอะลูมินาที่ผ่านการปรับสภาพด้วยสารคู่ควบไซเลนกับฟันซี่ฟันเทียมทางการค้าen_US
dc.title.alternativeA Comparison of wear resistance between a heat-curing acrylic resin modified with silanized nanoalumina and commercially artificial toothen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashทันตวัสดุ-
thailis.controlvocab.thashวัสดุทางการแพทย์-
thailis.controlvocab.thashเรซินทางทันตกรรม-
thailis.controlvocab.thashอนุภาคนาโน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractจุดประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความต้านทานต่อการสึกระหว่างเรซินอะคริลิกชนิดบ่มร้อนที่ปรับปรุง ด้วยอนุภาคนาในอะคูมินาที่ผ่านการปรับสภาพด้วยสารคู่ควบไซเลนกับซี่ฟันเทียมทางการค้าชนิด ต่างๆ วัสดุอุปกรณ์และวิธีการ: ทดสอบการสึกเหตุวัตถุสองชนิดของเรชินอะกริลิกชนิดบ่มร้อนที่ปรับปรุง ด้วยอนุภาคนาโนอะลูมินาที่ผ่านการปรับสภาพด้วยสารคู่ควบไซเลนชนิดเอ็มพีเอสร้อยละ 0.25, 0.5, 0.7ร และ เ โดยน้ำหนักและซี่ฟันเทียมทางการค้า 4 ยี่ห้อได้แก่ ซี่ฟันเทียมอะคริลิก (คอสโมและยามา ฮาชิ นิวเอส) และคอมโพสิต (เอนดูราและยามายาชิพีเอ็กซ์) ด้วยเครื่องทดสอบการสึกคัดแปลงจาก วิธีการหมุนและจาน โดยมีกลุ่มควบคุมคืออะคริลิกชนิดบ่มร้อนที่ไม่เติมอนุภาคนาโนอะลูมินา วัด ปริมาตรที่สูญเสียไปและวิเคราะห์สถิติความแปรปรวนทางเดียวที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลการทดลอง: ปริมาตรที่สูญเสียไปของเรซินอะคริลิกที่ปรับปรุงด้วยอนุภาคนาโนอะลูมินาที่ผ่าน การปรับสภาพด้วยสารคู่ควบไซเลนร้อยละ 0.25 โดยน้ำหนักและซี่ฟันเทียมเอนดูรามีค่าน้อยที่สุด แตกต่างจากกลุ่มควบคุมและซี่ฟันเทียมยามาฮาชิ นิวเอสอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติ บทสรุป: การปรับปรุงคุณสมบัติด้วยการเดิมอนุภาคนาโนอะลูมินาร้อยละ 0.25 โดยน้ำหนักที่ผ่านการ ปรับสภาพด้วยสารคู่ควบไซเลน สามารถเพิ่มความต้านทานต่อการสึกของเรชินอะคริลิกได้ไกล้เคียง กับซี่ฟันเทียมคอมโพสิตและสูงกว่าซี่ฟันเทียมอะคริลิกแบบดั้งเดิมอย่างมีนัยยะสำคัญ ความต้านทานต่อการสืกมีแนวโน้มลดลงเมื่อเพิ่มปริมาณอนุภาคนาโนอะลูมินาen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610931027 ยศมน วารีสุรหาญ.pdf4.77 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.