Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73712
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์-
dc.contributor.authorวันอิฮซาน ตูแวสิเดะen_US
dc.date.accessioned2022-07-24T04:42:18Z-
dc.date.available2022-07-24T04:42:18Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73712-
dc.description.abstractThis thesis “Patani under the Political Movement 1808-1909” aims to explore a century of historical change in Patani, starting from Patani being divided into seven Huamuangs (Domains) in 1808 to the conclusion of the Anglo-Siamese Treaty in 1909. This research analyzes the political change and the roles of intellectual elites. It aims to explain how to transcend the historical dichotomy between Siam and Patani, that is always written in Patani historiography. The research also focuses the role of the Patani Ulama network that has made changes in history, as a result, "Patani" or "Three Southern Border Provinces" become the present. This study reveals that over 19th century, there were many dynamics that began with the division of Patani into seven Huamuangs in 1808. It was a major political change, when Patani once had only one sultan, had then been divided into 7 Huamuangs ruled by seven Chaomuang (governors). Then, in the 1830s, there was a discovery of tin in the inner Huamuangs which further instigated disunity between the seven Huamuangs of Patani as the governors were in conflicts over the enormous benefits of tin. Even in the second half of the 19th century, a network of ulama became the dominant force in Patani society, but it is just a moral authority that cannot contribute to the resistance of the Anglo-Siamese Treaty of 1909, the treaty that completely turned Patani into a part of Siam. However, the movement created a significant historical legacy –a proto Patani nationalism–that passed on to latter eras.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปาตานีภายใต้ความเคลื่อนไหวทางการเมือง ค.ศ.1808-1909en_US
dc.title.alternativePatani under the political movement 1808-1909en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashพื้นที่ชายแดน-
thailis.controlvocab.thashไทย -- ปัญหาชายแดน-
thailis.controlvocab.thashปัตตานี -- ประวัติศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashปัตตานี -- ภาวะสังคม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์เรื่อง "ปาตานีภายใต้ความเคลื่อนไหวทางการเมือง ค.ศ. 1808-1909" มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพลวัตการเปลี่ยนแปลงของปาตานีในรอบหนึ่งศตวรรษ โดยเริ่มตั้งแต่การถูกแบ่งออกเป็นเจ็ดหัวเมืองในต้นศตวรรษที่ 19 ไปจนถึงช่วงของการเกิดสนธิสัญญากรุงเทพฯ 1909 ซึ่งวิเคราะห์ โดยใช้ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและบทบาทของชนชั้นนำทางภูมิปัญญา โดยมุ่งอธิบายเพื่อก้าวข้ามกับดักคู่ตรงข้ามทางประวัติศาสตร์ระหว่างสยาม-ปาตานี ที่มักจะถูกเขียนตลอดในประวัติศาสตร์นิพนธ์ปาตานี งานวิจัยชิ้นนี้ยังเน้นบทบาทของเครือข่ายนักการศาสนาอิสลามชาวปาตานีที่กระทำการเปลี่ยนแปลงประวัติศาสตร์ซึ่งส่งผลให้ "ป่าตานี" หรือ "สามจังหวัดชายแดนภาคใต้" มีลักษณะอย่างที่เห็นในปัจจุบัน ผลการศึกษาพบว่าในศตวรรษที่ 19 มีพลวัตการเปลี่ยนแปลงมากมายเกิดขึ้น เริ่มจากการที่สยามแบ่งปาตานีออกเป็นเจ็ดหัวเมืองในปี 1808 ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งใหญ่ เมื่อปาตานีที่เคยมีสุลต่านเพียงองค์เดียวนำไปสู่การมีเจ้าเมืองถึงเจ็ดองค์ ต่อมาในทศวรรษ 1830 มีการค้นพบแร่ดีบุกในหัวเมืองตอนใน ก็ยิ่งตอกย้ำความไร้เอกภาพในเจ็ดหัวเมือง เมื่อเจ้าเมืองขัดแย้งกันเองเนื่องจากผลประโยชน์มหาศาลจากแร่ดีบุก แม้ในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 เครือข่ายนักการศาสนาจะก้าวขึ้นมามีอำนาจนำในสังคมปาตานีได้ แต่ก็เป็นอำนาจในเชิงศีลธรรมที่ไม่สามารถมีส่วนร่วมอะไรได้ในการทำสนธิสัญญากรุงเทพฯ 1909 ซึ่งเป็นการทำสัญญาที่กำหนดให้ปาตานีตกเป็นของสยามอย่างสมบูรณ์ ทว่าความเคลื่อนไหวดังกล่าวได้ส่งต่อเป็นมรดกประวัติศาสตร์ที่เป็นหน่อเชื้อให้กับชาตินิยมปาตานีในเวลาต่อมาen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600131016 วันอิฮซาน ตูแวสิเดะ.pdf3.62 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.