Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73666
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล-
dc.contributor.advisorอภิรดี นันท์ศุภวัฒน์-
dc.contributor.authorกนกพร ใหม่ชมภูen_US
dc.date.accessioned2022-07-19T10:13:34Z-
dc.date.available2022-07-19T10:13:34Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73666-
dc.description.abstractNursing rounds are an opportunity for the nursing team to identify and fulfill patient needs. The purpose of this developmental study was to improve the quality of nursing rounds in Private Trauma Ward at Chiangrai Prachanukroh Hospital. Study methodology was guided by the concept of nursing management rounds by Close and Castledine (2005) and the PDCA (Plan, Do, Check, Act) improvement process. The study population included 12 registered nurses and the participants were 57 hospitalized patients. The research instruments included the guidelines of nursing rounds, the nursing round form, the assessment form for practices compliance with the guidelines of nursing round, and the record form for length of hospital stay. Data were analyzed using descriptive statistics. The results of this study revealed that the model of a nursing management round was able to improve nursing round practices and patient outcomes. After nurses were trained for practice compliance with the guidelines of the nursing management round, 91% of registered nurses could completely perform practices according to the guidelines. In addition, the patients recovered and were discharged faster. The percent of patients who had lengths of hospital stay longer than diagnosis related groups decreased from 32% to 21%. The average length of the patients’ hospital stays from admission to discharge decreased from 7.11 to 5.35 days. The results of this study showed that the model of a nursing management round was effective in improving nurse and patient interactions and promoting the quality of nursing care in the private ward. Application and testing of this nursing management round in another setting is needed.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาคุณภาพการเยี่ยมตรวจทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยพิเศษอุบัติเหตุ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์en_US
dc.title.alternativeQuality improvement of nursing round in private trauma ward, Chiangrai Prachanukroh Hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์-
thailis.controlvocab.thashการพยาบาล-
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วยใน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการเยี่ยมตรวจทางการพยาบาล เป็นการสร้างโอกาสให้ทีมพยาบาลได้ทราบความต้องการของ ผู้ป่วยและสนองตอบได้อย่างครบถ้วน การศึกษาเชิงพัฒนานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพของ การเยี่ยมตรวจทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยพิเศษอุบัติเหตุ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ วิธีดำเนินการศึกษาใช้แนวคิดการเยี่ยมตรวจการจัดการพยาบาลของ โคส และ แคสเลดีน (2005) และ กระบวนการปรับปรุงคุณภาพพีดีซีเอ (การวางแผน การปฏิบัติ การตรวจสอบ และการดำเนินการ แก้ไข) ประชากรในการศึกษานี้ คือ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 12 คน และกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยใน โรงพยาบาล จำนวน 57 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ แนวทางในการเยี่ยมตรวจทางการ พยาบาล แบบฟอร์มในการเยี่ยมตรวจผู้ป่วย แบบประเมินการปฏิบัติของพยาบาลตามแนวทางการ เยี่ยมตรวจผู้ป่วย และแบบบันทึกจำนวนวันนอนผู้ป่วย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบการเยี่ยมตรวจการจัดการพยาบาลทำให้การปฏิบัติการเยี่ยมตรวจดีขึ้น และเกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้ป่วย โดยหลังจากมีการอบรมให้พยาบาลปฏิบัติตามแนวทางการเยี่ยมตรวจ ทางการพยาบาลแล้ว พบว่าพยาบาลร้อยละ 91 สามารถปฏิบัติตามแนวทางในการเยี่ยมตรวจทางการ พยาบาล ได้อย่างถูกต้อง นอกจากนี้ยังทำให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นฟูสภาพและกลับบ้านได้เร็วยิ่งขึ้น โดย พบว่ามีจำนวนผู้ป่วยที่นอนนานเกินกว่ากลุ่มวินิจฉัยโรคลดลงจากเดิมร้อยละ 32.31 มาเป็นร้อยละ 21.05 และจำนวนวันนอนเฉลี่ยตั้งแต่รับใหม่จนถึงจำหน่ายกลับบ้านของผู้ป่วยลดลงจาก 7.11 วัน มา เป็น 5.35 วัน ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่ารูปแบบการเยี่ยมตรวจการจัดการพยาบาลมีประสิทธิภาพในการเพิ่มประสิทธิภาพโดยทำให้ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลและผู้ป่วยเพิ่มขึ้นและส่งเสริมให้การบริการทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยพิเศษมีคุณภาพดีขึ้น จึงควรมีการนำรูปแบบการเยี่ยมตรวจการจัดการพยาบาลไปประยุกต์และทดสอบในหอผู้ป่วยอื่นต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611231044 กนกพร ใหม่ชมภู.pdf2.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.